Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุพกนิษฐ์ พ่วงวีระกุล-
dc.date.accessioned2024-04-22T07:57:33Z-
dc.date.available2024-04-22T07:57:33Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2343-
dc.description.abstractในการนำขยะอินทรีย์หนักร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร โดยเตรียมให้มีสัดส่วนโดย น้ำหนักแห้งของวัตถุดิบชนิดแกลบ เศษอาหาร ใบไม้ มูลสุกร เท่ากับ 3-6 : 3-6 : 0.5-1.: 0.5-1.5 ช่วยลดปริมาณขยะอินทรีย์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์เฉลี่ยร้อยละ 84 โดยพบว่าเมื่อใช้สัดส่วนวัตถุดิบ เท่ากับ 3 : 6 : 1.5 : 1.5 สามารถลดปริมาณขยะอินทรีย์ได้สูงสุดเท่ากับร้อยละ 90 ภายในเวลา 41 วัน ผลการติดตามการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระหว่างการหมักปุ๋ย ประกอบด้วย ปริมาณความชื้น คาร์บอน อินทรียวัตถุ ไนเตรต ฟอสฟอรัส พบว่ามีแนวโน้มที่เหมือนกันทุกสูตรทดลอง โดยพบการ ลดลงของความชื้น คาร์บอน อินทรียวัตถุพร้อม ๆ กับการเพิ่มขึ้นของไนเตรตและฟอสฟอรัส สำหรับ ผลการติดตามการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คือ อุณหภูมิและค่าพีเอช พบการเปลี่ยนแปลงสองช่วงคือ ใน 1 วันแรกของการหมักพบการลดลงของค่าพีเอชในขณะที่มีการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ จากนั้นพีเอช มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในขณะที่อุณหภูมิมีแนวโน้มลดลง จนค่าทั้งสองก็กลับเข้าสู่สภาวะสมดุลเท่าตอน เริ่มต้นในวันที่ 40-55 ของการหมัก คุณภาพของปุ๋ยหมักในสูตรที่มีแหล่งคาร์บอนและอินทรียวัตถุ จากสัดส่วนที่สูงสุดจะแสดงปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสสูงกว่าสูตรอื่นๆ และ แสดงอัตราส่วน C/N แคบที่สุดเท่ากับ 13.38 ผลการตรวจสอบคุณภาพเปรียบเทียบระหว่างปุ๋ยหมัก สูตรต่าง ๆ ต่อการเจริญเติบโตในระยะเพิ่มน้ำหนักของต้นข้าวปทุมธานี 1 ที่ปลูกในกระถางในเรือน ทดลอง พบว่าการเจริญเติบโตทางลำต้นของต้นข้าวในวันที่ 91 ของการงอก มีความยาวเฉลี่ยของราก และยอดแตกต่างกันตามสูตรปุ๋ยหมักและมีความสอดคล้องกับคุณภาพทางเคมีของปุ๋ยหมักที่ผลิตได้en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectปุ๋ยหมัก -- วิจัยen_US
dc.subjectปุ๋ยอินทรีย์ -- วิจัยen_US
dc.subjectเกษตรกรรมธรรมชาติ -- วิจัยen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การปรับปรุงคุณภาพการหมักแบบอาหารแข็งของปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ร่วมกับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรen_US
dc.title.alternativeQuality improvement of solid stage fermentation of co-composting from organicwaste and agricultural wasteen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractIn this study, composed manure was prepared using hull, food waste, leave and pig manure as raw materials in the ratio of 3-6: 3-6 : 0.5-1.5 : 0.5-1.5 (dry weight) which could reduce 84 % of organic waste contents as launched policy, Tre maximun organic waste content reducing as 90 % in 41 days was found when the ratio of the raw materials were 3:6:1.5 : 1.5. The change of chemical parameters during composed manure fermentation were monitored. It was found that water content, carbon and organic matter were decreased while nitrate and phosphorus contents were increased in all formulas. For physical parameters monitoring such as temperature and pH, their change were found in two phase. First, during 11 days of initial fermentation pH was decreased while temperature was increased, then pH tend to be increased while temperature was decreased. Until 40-55 days of fermentation these two parameters were returned to equilibriun normal value) as initial fermentation period. The quality of composed manure formula that contained the highest content of carbon and organic matter showed the highest level of nutrient elements, nitrogen and phosphorus contents and showed the narrowest C/N ratio of 13.38. The response test of different composed manure on growth rate of Pathum Thani 1 rice grown in pots under green house laboratory showed that the length of root and shoot of rice at 91 days of vegetative growth phase varied according to the composed manure formula corposition and corresponded with their chemical quality.en_US
Appears in Collections:BiT-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
YUPAKANIT PUANGWERAKUL.pdf9.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.