Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี ศุขสาตร-
dc.contributor.advisorสุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์-
dc.contributor.advisorปกรณ์ อาภาพันธุ์-
dc.contributor.authorสิรัญญา ทองชาติ-
dc.date.accessioned2024-06-05T07:20:46Z-
dc.date.available2024-06-05T07:20:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2383-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2550en_US
dc.description.abstractดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอแนวคิดในการวิเคราะห์เสถียรภาพริมตลิ่ง แม่น้ําโขงในจังหวัดหนองคาย โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น ได้แก่วิธี Simplified First Order Second Moment (SFOSM) การดําเนินการประกอบด้วย การศึกษาอิทธิพลของความ โดยกําหนดให้ค่ากําลังรับแรงแปรปรวนของคุณสมบัติดินที่มีต่อเสถียรภาพของลาดตลิ่งแม่น้ํา เฉือนของดินที่มีความแปรปรวนได้แก่ su และ ø ในหลายกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับน้ํา นําเสนอลําดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในรูปแบบของแผนภูมิเหตุการณ์ และจัดลำดับความน่าจะเป็นของการพิบัติรวมของทุกพื้นที่ เพื่อนําไปสู่การหาค่าอัตราส่วนความปลอดภัยที่เหมาะสมกับความ แปรปรวนของข้อมูล (E[F.S.]rec) นอกจากนี้ได้มีการแสดงตัวอย่างการประยุกต์ใช้ร่วมกับทฤษฎีการ ประเมินความเสี่ยง เพื่อนําไปสู่การประเมินแนวทางป้องกันการพิบัติของลาดตลิ่ง ผลจากการวิจัยพบว่า การประยุกต์ใช้ Probabilistic Based Analysis เป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพในการจัดการกับปัญหาเรื่องความแปรปรวนของข้อมูลที่เกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ค่าอัตราส่วนความปลอดภัย นั่นคือ ถ้าชั้นดินมีความแปรปรวนมากขึ้น ค่าความน่าจะเป็นของการ พิบัติก็จะมีค่าสูงขึ้น ซึ่งนําไปสู่การได้ค่า EFF.S. ที่เป็นแนวทางเริ่มต้นให้ตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดจากความแปรปรวนของคุณสมบัติดิน ดังนั้นการที่ค่าความน่าจะเป็นของการพิบัติจะมีค่า เท่ากับความน่าจะเป็นของการพิบัติที่ยอมรับได้สามารถดําเนินการได้ 2 แนวทาง คือ 1) การทําให้ ลาดตลิ่งมีเสถียรภาพมากขึ้น โดยใช้วัสดุที่สามารถควบคุมคุณภาพได้ (มีความแปรปรวนน้อย) เช่น การทําเขื่อนป้องกันตลิ่ง 2) การเพิ่มจํานวนหลุมเจาะทดสอบ เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของข้อมูล และอาจเป็นการลดความแปรปรวนของคุณสมบัติดิน เนื่องจากจํานวนทดสอบที่น้อยเกินไปนอกจากนี้ผลของการนําไปประยุกต์ใช้ร่วมกับการประเมินความเสี่ยงที่แสดงให้เห็นถึง ความคุ้มค่าในการเลือกใช้มาตรการการป้องกันการพิบัติของลาดตลิ่ง และมูลค่าความเสี่ยงที่ยังคงหลงเหลือ อยู่เพื่อสามารถนําไปใช้ในการจัดเตรียมงบประมาณและการจัดลําดับความสําคัญของพื้นที่ประกอบการตัดสินใจในการก่อสร้างต่อไปen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectความน่าจะเป็น -- วิจัยen_US
dc.subjectตลิ่งแม่น้ำโขง -- หนองคาย --วิจัยen_US
dc.subjectวิศวกรรมโยธา -- วิจัยen_US
dc.titleการวิเคราะห์เสถียรภาพริมตลิ่งแม่น้ำโขง โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น (กรณีศึกษาจังหวัดหนองคาย)en_US
dc.title.alternativeApplication of probabilistic analysis for stability of Mekong Reverbank (case study : Nong Khai provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe overall goal of this dissertation is to propose the concept of slope stability analysis of the Mekong Riverbank in Nong Khai province by incorporating a probabilistic approach. The Simplified First-Order Second Moment method (SFOSM) was used for the probability analysis. The methodology of this dissertation is to quantify the influence of uncertainty in soil parameters on stability of the riverbank. The probability analysis was done by treating he shear strength parameter Su and ø as random variables, which vary at several water levels. The event tree was written for pictorial representation to describe the sequences of events. An annual probability of failure was calculated and ranked for all locations. Additionally, the factor of safety appropriate with soil variation (E[F.S.]rec) and an application of risk based analysis for slope protection were shown. The results of this dissertation found that the most effective applications of probabilistic based analysis involve illuminating the effects of uncertainty in the parameters, which affects the factor of safety. A higher variation in soil properties results in a higher probability of failure. For an acceptable annual probability of failure for the riverbank slopes, the recommended expected factor of safety E[F.S.]rec was shown. The E[F.S.]rec is an initial guideline for recognizing the variation in soil properties. In order to obtain p, within an acceptable range, two procedures are available. First, strengthen the slope, without changing the soil properties. Second, increasing data by drilling more bore holes which may lead to a reduction in COV-N, which will reduce the statistical error in the mean. Additionally, the results of the application of risk based analysis indicate the benefits of slope protection and quantify a remaining cost of risk. A further evaluation is proving useful for priority ranking of locations to make decisions about construction.en_US
dc.description.degree-nameวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
Appears in Collections:Eng-CE-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SIRANYA THONGCHART.pdf37.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.