Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorตฤณณวัฒน์ ทองชิต-
dc.contributor.authorสมหญิง เพ็ชรลอ-
dc.contributor.authorนิศา ปานอ่อน-
dc.date.accessioned2024-06-10T07:13:30Z-
dc.date.available2024-06-10T07:13:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2392-
dc.description.abstractปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมทั่วโลก ซึ่งในกาแฟนั้นมีคาเฟอีนเป็นองค์ประกอบ สามารถพบได้ในชา กาแฟ เป็นต้น คาเฟอีนนั้นมีฤทธิ์ในการกระตุ้นระบบประสาท ส่วนกลาง เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของร่างกาย และมีการเพิ่มขึ้นของความดันตาและขนาดของรูม่านตา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความดันตา และขนาดของรูม่านตา ระหว่างอาสาสมัครที่ดื่มกาแฟและไม่ดื่มกาแฟ และศึกษาเปรียบเทียบความดันตา และขนาดของรูม่านตาระหว่างอาสาสมัครที่ดื่มกาแฟและไม่ดื่มกาแฟ และศึกษาเปรียบเทียบความดันลูกตา และขนาดของรูม่านตาในกลุ่มอาสาสมัครที่ดื่มกาแฟ ขณะก่อนดื่มกาแฟและหลังดื่มกาแฟในนาทีที่ 30 60 และ 90 มีอาสาสมัครทั้งหมด 156 คน ต้องไม่มีประวัติโรคทางระบบร่างกาย โรคทางตา โรคทางเปลือกตาการผ่าตัดทางตา และอุบัติเหตุทางตา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคนที่ดื่มกาแฟจํานวน 78 คน มีอายุเฉลี่ย 43.00 + 30.00 ปี เป็นผู้ที่ดื่มกาแฟเป็นประจําทุกวันอย่างน้อย 1 แก้วต่อวัน และกลุ่มคนที่ไม่ดื่ม กาแฟจํานวน 78 คน มีอายุเฉลี่ย 31.00 + 26.75 ปี เป็นผู้ที่ไม่ดื่มกาแฟเป็นประจําทุกวัน ผู้วิจัยจะวัดค่า ความดันตาและขนาดของรูม่านตาในอาสาสมัครทั้งสองกลุ่มโดยให้อาสาสมัครกลุ่มที่ดื่มกาแฟ ดื่ม กาแฟที่ปริมาณ 177.4 มิลลิลิตร มีปริมาณคาเฟอีนอยู่ที่ 160 มิลลิกรัม และทําการวัดหลังจากการดื่ม กาแฟในนาทีที่ 30, 60 และ 90 ผลการศึกษาพบว่า ค่าความดันตาในกลุ่มคนที่ดื่มกาแฟมีค่าน้อยกว่า กลุ่มคนที่ไม่ดื่มกาแฟอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 2 = 0.028 และอาสาสมัครกลุ่มที่ดื่มกาแฟมีขนาดรู ม่านตาทั้งในที่มืดและที่สว่างมีค่าน้อยกว่ากลุ่มคนที่ไม่ดื่มกาแฟอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ p = 0.028 และอาสาสมัครกลุ่มที่ดื่มกาแฟมีขนาดรูม่านตาทั้งในที่มืดและที่สว่างมีค่าน้อยกว่ากลุ่มคนที่ไม่ดื่มกาแฟอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p = 0.021และและ p = 0.001 ตามลําดับ แต่อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างของค่าความดันตาและขนาดของรู ม่านตาในอาสาสมัครที่ดื่มกาแฟ ขณะก่อนดื่ม และหลังดื่มในนาทีที่ 30 60 และ 90en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectคาเฟอีน -- เภสัชฤทธิวิทยาen_US
dc.subjectกาแฟ -- เภสัชฤทธิวิทยาen_US
dc.subjectความดันตาen_US
dc.subjectรูม่านตา -- การวินิจฉัย -- วิจัยen_US
dc.titleรายงานวิจัขฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ผลกระทบของคาเฟอีนในกาแฟที่ส่งผลต่อความดันตาและขนาดรูม่านตาen_US
dc.title.alternativeEffect of caffeinated coffee on intraocular pressure and pupil sizeen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractAt this time coffee is a popular beverage all around the world, and caffeine is an important component of coffee as well as other drinks such as tea, etc. Caffeine has the ability to stimulate the central nervous system and influence bodily function, such as increasing intraocular pressure (IOP) and pupil size. The purposes of this study were to compare the IOP and pupil size of subjects who drank caffeinated coffee with that of who didn't drink coffee and compare the IOP and pupil size of subjects who drank caffeinated coffee between before and after at 30, 60 and 90 minutes. One hundred fifty-six participants without a history of systemic disease, or ocular disease, trauma, or surgery were divided into two groups; 78 participants with a mean age of 43.00 ± 30.00 years who ingest coffee daily (Caffeinated), and 78 participants mean age 31.00 26.75 years who do not ingest caffeine daily (Non-caffeinated). Measurements of IOP and pupil size for members of both groups were made prior to the caffeinate group drinking coffee 177.4 ml of coffee containing 160 mg of caffeine (Baseline), and 30, 60, and 90 minutes thereafter. The result illustrated that intraocular pressure in caffeinated less than non-caffeinated was significant at the p = 0.02. Pupil size in dim and light room in caffeinate less than non- caffeinated was significant at the p = 0.021 and p = 0.001 respectively. Pupil size in caffeinate at baseline 30 60 and 90 minutes was not significantlyen_US
Appears in Collections:Opt-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Trinnawat Tongchit.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.