Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวันวิชิต บุญโปร่ง-
dc.date.accessioned2024-06-28T07:48:51Z-
dc.date.available2024-06-28T07:48:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2408-
dc.description.abstractงานวิจัย บทบาททางการเมืองของผู้บัญชาการทหารบกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ.2535 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเนื้อหาจากการสังเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์ โดย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากกลุ่มนายทหารระดับชั้นนายพลของกองทัพบกท้ังหมด 10 ท่านแบ่งเป็นกลุ่มอดีตนายชั้นผู้ใหญ่ในกองทัพบก 5 ท่านและกลุ่มนายทหารที่กำลังรับราชการ 5 ท่าน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาททางการเมืองของผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกภายหลังเหตุการณ์ทาง การเมืองเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 และ ศึกษาปัจจัยที่ทำให้ผู้บัญชาการ ทหารบกเข้ามามีบทบาททางการเมือง ผลการศึกษาพบว่า บทบาททางการเมืองของผู้บัญชาการทหารบกภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 เป็นต้นมายังคงอยู่ระดับมีความโดดเด่น ในฐานะผู้เข้ามาทำหน้าที่รักษาความ สงบเรียบร้อยภายในประเทศ กอปรกับจากความผันผวนในระบบการเมืองไทยกว่าช่วงทศวรรษที่ ดึงผู้บัญชาการทหารบกเข้ามาสู่วงจรการจัดการปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง รวมถึงความไม่ พอใจการแทรกแซงแต่งต้ังโยกย้ายนายทหารภายในกองทัพของฝ่ายการเมืองและการปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ที่ได้รับความกระทบกระเทือนจากการเคลื่อนไหวของกลุ่มทางการเมือง เป็นปัจจัยที่มีความชอบธรรมที่ผลักดันให้ผู้บัญชาการทหารยังรักษาบทบาทและพ้ืนที่สคัญทางการเมืองไทยได้ตลอดมาen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพฤษภาทมิฬ -- วิจัยen_US
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- รัชกาลที่ 9 -- 2549en_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยบทบาททางการเมืองของผู้บัญชาการทหารบกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ.2535en_US
dc.title.alternativeThe political role of the Commander-in-Chief, Royal Thai Army after Black May 1992en_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis research ‘The Political Role of the Commander-in-Chief, Royal Thai Army after Black May 1992’ is qualitative research. Using content analysis of documents and interviews 10 Generals of the Royal Thai Army were selected through the purposive sampling method. Half of interviewers are former high ranking officers and another half still in the military service. The purposes of this research are to study the political role of the incumbent Thai Army Commander after the Black May 1992, and to study the factors that made the incumbent Thai Army Commander into politics. The results showed that political role of the incumbent Thai Army Commander after the Black May 1922 is still remaining as the one that serves to maintain peaceful of the country. Moreover, political conflict in Thailand over the last decade is to pull the Thai Army Commander into the role of the conflict resolution. In addition, any offensive military intervention nomination of officers and the monarchy that had been effected by the movement of political groups are another twos righteous factors that has pull the Thai Army Commander to maintain a significant Thai political role all alongen_US
Appears in Collections:Political- Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WANWICHIT BOONPRONG.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.