Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดวงพร สุวรรณกุล-
dc.date.accessioned2024-07-15T08:35:52Z-
dc.date.available2024-07-15T08:35:52Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2425-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบเปลือกส้มเขียวหวาน (Citrus reticulate Blanco) เพื่อการยับยั้งการงอกของเมล็ดพืชทดสอบ 2 ชนิด คือผักกาดหอม (Lactuca sativa L.) และหญ้าข้าวนก (Echinochloa crus-galli.) สกัดผงเปลือกส้มบด ด้วย เมทานอล 70% และกำจัดคลอโรฟิลล์ วางแผนการทดสอบการยับยั้งการงอกของเมล็ดพืชทดสอบด้วยวิธีการสุ่มสมบูรณ์ประกอบด้วยความเข้มข้นของสารสกัดหยาบที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ คือ 0 0.1250.25 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 และ 4.00 กรัมต่อน้ำกลั่น 100 มิลลิลิตร พบว่าสารสกัดหยาบเปลือกส้มเขียวหวานไม่กำจัดคลอโรฟิลล์ มีผลการยับยั้งการงอกที่ระดับ 50% ของผักกาดหอม(Lactuca sativa L.) และหญ้าข้าวนก (Echinochloa crus-galli.) ที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 0.125 และ2.50 กรัมต่อน้ำกลั่น 100 มิลลิลิตร ตามลำดับ ส่วนสารสกัดหยาบเปลือกส้มเขียวหวานกำ จัดคลอโรฟิลล์มีผลการยับยั้งการงอกระดับ 50% ของผักกาดหอม (Lactuca sativa L.) และหญ้าข้าวนก (Echinochloa crus-galli.) ที่ระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 0.50 และ1.00 กรัมต่อน้า กลั่น 100 มิลลิลิตร ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบสารสกัดหยาบเปลือกส้มเขียวหวานกาจัดคลอโรฟิลล์และไม่กำจัดคลอโรฟิลล์พบว่าสารสกัดหยาบเปลือกส้มเขียวหวานกำจัดคลอโรฟิลล์มีประสิทธิภาพสูงกว่า ที่ระดับความเข็มข้นเท่ากันดังนั้นในการศึกษาขั้นตอนต่อไปควรใช้ส่วนของสกัดหยาบกำจัดคลอโรฟิลล์เพื่อจำแนกและทดสอบหาสารสำคัญต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวัชพืช -- การกำจัด -- วิจัยen_US
dc.subjectการควบคุมวัชพืชen_US
dc.subjectสารอาลีโลพาธิกen_US
dc.subjectสารสกัดจากเปลือกส้มen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย สารอาลีโลพาธิกจากเปลือกส้ม ทางเลือกเพื่อทดแทนสารเคมีกำจัดวัชพืชen_US
dc.title.alternativeAllelopathic substance from citrus peel : an alternative method for chemical weed controlen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe study was aimed to evaluate a 70% methanol extraction of Citrus reticulata Blanco with and without chlorophyll removal on an inhibition of weed seed germination. A completely randomized designed was performed at different concentrations of crude extracts with and without chlorophyll removal each concentrations of crude extracts was replicated 3 times. The results showed the crude extracts without chlorophyll removal could inhibit 50% seed germination of Lactuca sativa L. and Echinochloa crus-galli at the concentrations of 0.125 and 2.50 g/100 ml, respectivety. Meanwhile, the crude extracts with chlorophyll removal could inhibit 50% seed germination of L. sativa and E. crus-galli at the concentrations of 0.50 and 1.00 g/100 ml, respectivety. Hence, the crude extracts with chlorophyll removal indicated higher efficiency than the one without chlorophyll removal. Therefore the further study should focus on the crude extracts with chlorophyll removal in order to purify an active substance on an inhibition of weed seed germination.en_US
Appears in Collections:Arg-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
DUANGPORN SUWANAGUL.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.