Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2431
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนิดา โอศิริพันธุ์-
dc.contributor.authorกิ่งกมล ลีลาจารุวรรณ-
dc.date.accessioned2024-07-16T03:46:32Z-
dc.date.available2024-07-16T03:46:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2431-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานมเปรี้ยวพร้อมดื่มจากนมแพะ โดยหาปริมาณน้ำตาลที่เหมาะสม ศึกษาชนิดและปริมาณไฮดรอคอลลอยค์ที่ไม่ทําให้เกิดการแยกชั้นในนมเปรี้ยว และศึกษาอายุการเก็บของ นมเปรี้ยวพร้อมดื่มนมแพะ จากการวิจัยนี้พบว่าปริมาณน้ําตาลร้อยละ 12 ผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับทาง ประสาทสัมผัสมากที่สุด จากการศึกษาชนิดและปริมาณไฮครอคอลลอยค์ พบว่า High-methoxy (HM) pectin ร้อยละ 0.3 (W/V), Guar gum ร้อยละ 0.1 (W/V) และ Locust bean gum รอยละ 0.2 (W/V) ไม่ทําให้นมเปรี้ยวเกิดการแยกชั้น ภายในระยะเวลา 15 วัน เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส และเมื่อนํามาทดสอบทาง ประสาทสัมผัสด้านความหนืดและความชอบรวม พบว่าผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับ High-methoxy (HM) pectin ร้อยละ 0.3 มากที่สุด จากการศึกษาอายุการเก็บของนมเปรี้ยวพร้อมดื่มนมแพะ ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 15 วันพบว่าผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวทั้งแบบที่ไม่ผ่านและผ่านการพาสเจอร์ไรซ์ สามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ไม่น้อยกว่า 15 วัน โดยมีคุณสมบัติทางเคมีและทางจุลชีววิทยาเป็นไปตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 353 พ.ศ.2556 เรื่อง นมเปรี้ยวen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนมเปรี้ยว -- วิจัยen_US
dc.subjectนมแพะ -- แง่โภชนาการ -- วิจัยen_US
dc.subjectอาหาร -- เทคโนโลยีชีวภาพ -- วิจัยen_US
dc.subjectอาหารนม -- เทคโนโลยีชีวภาพ -- วิัจัยen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการพัฒนานมเปรี้ยวพร้อมดื่มจากนมแพะen_US
dc.title.alternativeGoat milk drinking yogurt developmenten_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe objective of this research was to develop drinking yogurt from goat milk. The suitable amount of sugar, the suitable types and amount of hydrocolloid as a stabilizer were studied. The data indicated that the most acceptable sugar content of the product for consumer acceptance was 12 % (W/V). The different types and concentrations of hydrocolloid for using as stabilizer for goat milk drinking yogurt were then evaluated. The results showed that layer separation of the products kept at 4 º C for 15 days was not observed when using 0.3% (W/V) high-methoxy (HM) pectin , 0.1% (W/V) Guar gum (GG) and 0.2% (W/V) Locust bean gum (LBG) as stabilizers. To study the consumer acceptance of the product, sensory evaluation was performed by 50 consumers using Hedonic point 7 scales. The results showed that high- methoxy (HM) pectin at concentration of 0.3 %(W/V) was the most suitable hydrocolloid for goat milk drinking yogurt. The physical and microbiology quality of unpasteurized and pasteurized drinking yogurt from goat milk were analyzed during storage at 4 º C for 15 days. The analyzed parameter followed the standard quality of drinking yogurt product of Ministry of Health’ s Announcement vol 353(2013). Therefore, the shelf life at 4 º C was not less than 15 days.en_US
Appears in Collections:FTG-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
VANIDA OSIRIPUN 1.pdf13.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.