Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2437
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฎฐ์พงษ์ จันทชโลบล | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-16T08:09:46Z | - |
dc.date.available | 2024-07-16T08:09:46Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2437 | - |
dc.description.abstract | รายงานการวิจัย เรื่องการประเมินความเหมาะสมการเป็นศูนย์กลางขนส่งสินค้าทางอากาศของ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิด้วยวิธี Multiple Criteria Decision Analysis เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ มุ่งศึกษาให้ทราบความหมายของศูนย์กลางขนส่งสินค้าทางอากาศ พร้อมทั้งหาปัจจัยที่ มีอิทธิพลต่อความเหมาะสมการเป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และนํามาวางแผนเชิงกลยุทธ์สําหรับท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเพื่อเป็นศูนย์กลางขนส่ง สินค้าทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้การสัมภาษณ์ด้วยวิธีเดลฟาย (Delphi) / การ วิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) ด้วยโปรแกรม E-view และใช้แบบสอบถาม (Questionnaire Survey) ในขั้นตอนการคัดเลือกประเมินความเหมาะสมการเป็นศูนย์กลางขนส่งสินค้า ทางอากาศใช้ 2 วิธีในการเปรียบเทียบคือ AHP และTOPSIS การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติย้อนหลัง ระหว่างปี 2540-2559 ของประเทศทั้ง 10 ประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้กลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจํานวน 17 ท่านและกลุ่มตัวอย่างของประชากรจํานวน 200 คน ในการตรวจสอบ ความถูกต้องของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นศูนย์กลางขนส่งสินค้าทางอากาศ ผลจากการวิจัย พบว่าท่าอากาศยานนานาชาติชางงี ประเทศสิงคโปร์มีความเหมาะสมที่เป็น ศูนย์กลางขนส่งสินค้าทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้เกณฑ์การประเมินทั้งปัจจัย หลักและรองดังนี้ ปัจจัยหลัก 4 ด้าน ได้แก่เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ เกณฑ์ด้านปฏิบัติการท่าอากาศยาน เกณฑ์ด้านเศรษฐกิจ และเกณฑ์ด้านอื่นๆ ปัจจัยรอง 8 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านกฎระเบียบของรัฐบาล ปัจจัยด้านการเชื่อมต่อจากสนามบินไปสู่ช่องทางขนส่งอื่น ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนต่อ สนามบิน ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ปัจจัยด้านคุณภาพการให้บริการของสนามบิน ปัจจัยด้านค่าธรรมเนียมลงจอดของอากาศยาน ปัจจัยด้านระบบบริหารงานของศุลกากร และปัจจัยด้าน ขนาดของอาคารคลังสินค้า ข้อเสนอแนะสําหรับท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิในการเป็นศูนย์กลาง ขนส่งสินค้าทางอากาศแบ่งออกเป็น 4 แนวทาง แนวทางที่ 1: ควรเพิ่มการเชื่อมต่อขนส่งไปยังหมวด ช่องทางอื่นๆ เช่น ทางน้ํา ทางบก ทางราง เป็นต้น แนวทางที่ 2: รัฐบาลควรที่ออกนโยบายเพื่อส่งเสริม การเป็นศูนย์กลางการบิน เช่น ลดกฎระเบียบการนําเข้าส่งออก ลดภาษี เป็นต้น แนวทางที่ 3: ปรับปรุง พัฒนาเพิ่มการคมนาคมขนส่งเพื่อให้การส่งสินค้าภายในประเทศได้รวดเร็วขึ้น แนวทางที่ 4: ปรับปรุง พัฒนาเพิ่มการให้บริการของท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ | en_US |
dc.subject | การขนส่งทางอากาศ -- การศึกษเปรียบเทียบ | en_US |
dc.subject | การขนส่งสินค้า -- ไทย | en_US |
dc.subject | การขนส่ง -- การวางแผน | en_US |
dc.title | การประเมินความเหมาะสมการเป็นศูนย์กลางขนส่งสินค้าทางอากาศของ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิด้วยวิธี multiple criteria decision analysis | en_US |
dc.title.alternative | Evaluated appropriteness the airfreight hub of Suvarnabhumi International Airport with multiple criteria decision analysis | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The topic of research report is evaluated appropriateness the airfreight hub of Suvarnabhumi International Airport with Multiple Criteria Decision Analysis. Using both quantitative and qualitative research. This research aim to define the meaning of air cargo hub, the factors that influence the suitability of air cargo hub in Southeast Asia and strategically planned for Suvarnabhumi International Airport as an air cargo hub in Southeast Asia. The research method uses Delphi, Multiple Regression Analysis with E-view and Questionnaire Survey. In the selection process, the assessment of the suitability of the air cargo hub is based on two approaches: AHP and TOPSIS. Data collection was conducted between 1997 and 2016 in 10 countries in Southeast Asia. There were 17 expert groups and 200 population samples to verify the validity of factors influencing the air cargo hub. The results of research was found that Changi International Airport Singapore is well positioned as an air cargo hub in Southeast Asia. Under the criteria of the primary and secondary factors, the four primary factors are geographical criteria, economic criteria, operation criteria, and other criteria. There are eight secondary factors are airport connect to other mode of transport, Airport infrastructure, gross domestic product, Landing fee, airport service quality, customs administrations, size of cargo terminal, and government regulations. Suggestions for Suvarnabhumi International Airport as an air cargo hub are divided into 4 directions option 1: Transport links should be added to other channel categories, such as waterways, roads, railways, etc. Option 2: The government should issue policies to promote aviation, such as reducing import and export regulations, reducing taxes, etc. Option 3: Improve transport development to enable faster delivery of goods within the country. Option 4: Improve the service of Suvarnabhumi International Airport | en_US |
Appears in Collections: | CTH-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NATTAPONG JAHTACHALOBON.pdf | 26.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.