Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2466
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไพลิน โภคทวี | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-18T06:42:56Z | - |
dc.date.available | 2024-07-18T06:42:56Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2466 | - |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยเรื่อง ความเป็นตัวตนในสถาปัตยกรรม: กรณีศึกษาสถาปัตยกรรมเยสุอิตในประเทศไทยนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาและพิสูจน์ถึงการมีอยู่ของความเป็นตัวตนในสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นผลมาจากความเป็นตัวตนของมนุษย์ผู้อาศัย “ความเป็นตัวตน”ของมนุษย์นี้ เป็นส่วนสาคัญของการดารงชีวิตอยู่บนโลกของมนุษย์ด้วยจิตใจที่ปกติสุข การศึกษาจึงมุ่งทาความเข้าใจถึงความเป็นตัวตนของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อความเป็นตัวตนของสถาปัตยกรรมเสมอมาการวิจัยเริ่มโดยศึกษาความคิดจากงานเขียนของนักปรัชญาและสถาปนิกที่นิยามและพยายามทาความเข้าใจถึงความเป็นตัวตนที่มีอิทธิพลต่อสถาปัตยกรรม จากนั้นศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบตัวอย่างสถาปัตยกรรม รวมทั้งกลุ่มสถาปัตยกรรมทั้ง 4 แห่งของคณะเยสุอิตในประเทศไทย คือ 1. บ้านเซเวียร์ กรุงเทพมหานคร 2. ศูนย์เข้าเงียบสวนเจ็ดริน จังหวัดเชียงใหม่ 3. บ้านโลโยลา จังหวัดนครปฐม และ 4. วัดแม่พระเมืองลูร์ด จังหวัดชลบุรี ซึ่งคณะเยสุอิตผู้อาศัยนี้เป็นกลุ่มนักบวชที่มีความเป็นตัวตนเดียวกันชัดเจนเข้มข้น ผ่าน “จิตตารมณ์” หรือ วิถีในการดาเนินชีวิตและความคิดทางศาสนาคริสต์ นิกายคาทอลิกผลจากการศึกษาและวิจัยพบว่า ประการแรก มนุษย์รู้สึกว่ามั่นคงและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ถูกต้อง เมื่อเขาได้แสดงความเป็นตัวตนลงสู่สถานที่นั้น ตัวตนของมนุษย์จึงสามารถสะท้อนไปสู่รูปแบบของสถาปัตยกรรมได้ ประการที่สอง สิ่งที่ทาให้รู้ว่ามีความเป็นตัวตนนั้นอยู่ คือการรับรู้ที่มา จากความทรงจา อันเกิดจากการรวบรวมประสบการณ์ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ต่อสถาปัตยกรรมประการที่สาม ความเป็นตัวตนนี้เกิดขึ้นในสถาปัตยกรรมด้วยเหตุหลายรูปแบบ เช่น จากความต้องการสื่อสารความหมายของตนเอง จากการเลือกการออกแบบที่เหมาะสมกับผู้อยู่อาศัย และเป็นไปตามวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยเอง และประการสุดท้าย ในการเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมของเยสุอิตในประเทศไทย 3 แห่งที่ก่อรูปก่อร่างมาจากความต้องการของเยสุอิตอย่างแท้จริง (บ้านเซเวียร์ศูนย์เข้าเงียบสวนเจ็ดริน และบ้านโลโยลา) พบว่าสถาปัตยกรรมแต่ละแห่ง มีรูปแบบที่มีผลมาจากความเป็นตัวตนของกลุ่มคนที่สอดคล้องกัน ซึ่งต่างไปจากวัดแม่พระเมืองลูร์ด ชลบุรี ซึ่งสร้างโดยกลุ่มคนต่างคณะอย่างชัดเจนองค์ความรู้ที่ได้รับจากการวิจัยนี้ สามารถเป็นแนวทางสร้างโอกาสให้เกิดความเป็นตัวตนในสถาปัตยกรรมได้ และกระตุ้นสานึกในการสร้างคุณค่าให้แก่งานสถาปัตยกรรมของสถาปนิก ด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้อาศัยได้มีส่วนร่วมในการออกแบบ และสถาปนิกใส่ใจในการแปลความเป็นตัวตนของผู้อาศัยนั้นออกมาเป็นรูปธรรม | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมศาสนา | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมกับศาสนา -- คริสตศาสนา | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ความเป็นตัวตนในสถาปัตยกรรม : กรณีศึกษาสถาปัตยกรรมเยสุอิตประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Identity in Architecture : Case study of Jesuit Architecture Thailand | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of the research “Identity in Architecture: Case Study of Jesuit Architecture Thailand” is to study and verify the being of identity in architecture which results from dweller’s self-identity. As “self-identity” is significant in dwelling normally, the study aims at trying to understand the relationships and effects of selfidentity persistently on the identity in architecture. The research is initiated by investigating notions from literatures of wellknown philosophers and architects which define and comprehend the influence of identity in architecture. Therefrom, architecture cases are analyzed and compared, including 4 places of Jesuit architecture in Thailand which are 1. Xavier Hall Bangkok 2. Seven Fountains Jesuit Retreat Center Chiangmai 3. Loyola House Nakorn Pathom 4. Bangsaen Church Chonburi. The Dwellers, Society of Jesus or Jesuit, are a group of priests that states its own identity intensively through the “Spirituality” or Catholic way of life and thought in Christianity. The results of the research are able to be interpreted into four aspects. Firstly, a human feels secure and gets properly a sense of place when his own identity is organized and presented in the place. Thus, self-identity can be reflected to the image of architecture. Secondly, the existence of identity is perceived due to the cognition, derived from memories which are collected from experiences through the 5 senses. Thirdly, there are several circumstances creating identity in architecture such as a need to communicate meanings, suitable designs reflecting the identity of the group, or way of life creates its own identity. Finally, in the comparison of 3 places of Jesuit architecture in Thailand (Xavier Hall, Seven Fountains Center, Loyola House) that are established entirely from the needs of the group, the research has found that architectures in each places have a connection of similar characters, reflecting the identity and spirituality of the group. Besides, they are clearly different from Bangsaen Church which was initially shaped up by a different ministry. The knowledge from the research presents possibilities to creating identity in architecture and urges architects’ awareness in giving architecture a value by working together with dwellers as a team and attending to interpret dwellers’ abstract identity to reality. | en_US |
Appears in Collections: | ARC-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PAILIN PHOKTHAVI.pdf | 10.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.