Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปาริษา มูสิกะคามะ | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-18T06:55:14Z | - |
dc.date.available | 2024-07-18T06:55:14Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2468 | - |
dc.description.abstract | จังหวัดระยองมีตําแหน่งยุทธศาสตร์ทําเลที่ตั้งที่สําคัญเนื่องด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ริม แม่น้ําและใกล้กับทะเลทําให้เหมาะแก่การค้าขาย นับแต่อดีตย้อนหลังไปถึงสุโขทัยซึ่งมีการค้าขายกับ ต่างประเทศ ดังนั้นพื้นที่นี้จึงเป็นเส้นทางหลักในการขนส่งทางเรือซึ่งปัจจุบันคืออําเภอเมืองระยอง เมื่อ มีผู้เข้ามาค้าขายการตั้งรกรากได้เกิดขึ้นจนพัฒนาไปเป็นตลาดการค้าจนเกิดเป็นชุมชนยมจินดาซึ่งถือ ได้ว่าเป็นใจกลางของเมืองในขณะนั้น ปัจจุบันสถาปัตยกรรมยังคงรูปแบบในอดีตให้เห็นอยู่มากมายที่ ยังคงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมา กระแสการพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและ การพัฒนาไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ทําให้อัตลักษณ์ชุมชนที่หลากหลายได้ถูกพัฒนาให้มี มาตรฐานเดียวกันและถูกครอบงําโดยทฤษฎีการพัฒนาแบบตะวันตก ส่งผลให้ค่านิยมของคนในสังคม ชนบทเปลี่ยนแปลง คุณค่าวัฒนธรรมท้องถิ่นถูกแทนที่ด้วยค่านิยมใหม่ ที่มุ่งเน้นวัตถุนิยม ชุมชนมี อัตราการสูญเสียป่า มีการทําลายสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เกิดภาวะมลพิษทางน้ําและอากาศ รวมถึงชุมชน ไม่สามารถรับมือกับแรงกดดันของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จึงนําไปสู่การพัฒนาชนบทที่ล้มเหลว เป้าหมายของการวิจัย คือเปิดศักยภาพที่จะยอมรับความแตกต่างของอัตลักษณ์ ความดีงาม ความมีศักดิ์ศรีและความหลากหลายทางวัฒนธรรมซึ่งถือว่าเป็นรากฐานสําคัญของชุมชนชนบท โดยคํานึงถึงหลักสิทธิชุมชน เป็นการกระจายอํานาจสู่ประชาชน ให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและ ลดทอนอํานาจจากศูนย์กลางการพัฒนา นําเสนอแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้แก่ การอนุรักษ์ การฟื้นฟู การสืบทอด รวมถึงการพัฒนาเชิงระบบ และการพัฒนาแบบองค์รวม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตได้นําเอาหลักธรรมาภิบาล มาใช้ในการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด ในกระบวนการออกแบบและวางผังชุมชน สร้างโอกาสให้ชุมชนท้องถิ่น ได้แก้ปัญหา และกําหนดทิศทางของชุมชนด้วยคนในชุมชนเอง ให้ตระหนักถึงคุณค่าอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีความนอบน้อมต่อสิ่งแวดล้อม สร้างกลไกการเรียนรู้เพื่อการวางผังชุมชนอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การพัฒนาชุมชน -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การวางผังเมือง -- ไทย -- ชุมชนยมจินดา (ระยอง) -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ผังเมือง -- การออกแบบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การฟื้นฟูเมือง -- ไทย -- ชุมชนยมจินดา (ระยอง) -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เมือง -- การตกแต่งให้สวยงาม | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการวางผังพัฒนาชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนยมจินดา จังหวัดระยอง | en_US |
dc.title.alternative | Community development planning case study : Yomjinda Rayong | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | Rayong has always been strategically important due to its geographical and central location. The first settlements date back to the Sukothai period. As the Empire expanded trade to other countries, the area became an important transportation route, which is now Muang district of Rayong. With the settlements of the trader, the Yomjinda area became market as the centre of their domain since. Nowadays, the architecture of this area ştill characterises the cityscape. As participation of commuters become increasing important to community development in Thailand according to the National economic and social development plan, the need to develop community also becomes a primary concern. Human communities represent both a primary resource and their existence of community itself are basic reason for sustainable development, such as an agriculture community, eco-tourism community, fishing village, farming, cultural, historical communities, etc. Sustaining the community has therefore become an essential element of development usually depends on the economic, social and cultural benefits to the community and its environment. A holistic approach to sustainability requires the new approach in the process of architectural design, planning, and development. Thus, designing community architecture has to take in account social, cultural, economic and environmental aspects. The concept of developing sustainable community goes beyond the creation of a successful architecture and results more than just building with sustainable materials and technologies. The new approach, this project needs to be collectively embraced a spirit of community and explore the community background, their history, their culture, way of life, their goal - reflecting the need of the community. This process enhance towards the community development in a sustainable way. | en_US |
Appears in Collections: | ARC-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PALISA MUSIGAKAMA.pdf | 7.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.