Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Rapeeporn Malungpaishrope | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T03:20:15Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T03:20:15Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2479 | - |
dc.description.abstract | ที่มาและวัตถุประสงค์ยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในงานศัลยกรรมช่องปาก แต่อย่างไรก็ตามมีบางกรณีที่มีข้อห้ามใช้ยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เช่น การแพ้ยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ซึ่งยาผสมทรามาดอลและอะเซตามิโนเฟนเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้ป่วยเหล่านี ้โดยในการศึกษานีมี้วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาและความพึง พอใจของอาสาสมัคร ระหว่างยาผสมทรามาดอล 37.5 มิลลิกรัม/อะเซตามิโนเฟน 325 มิลลิกรัม (Tr/Ac) กับยาไอบูโพรเฟน 400 มิลลิกรัม (Ibu) ในการควบคุมความเจ็บปวดเฉียบพลันหลังจากการผ่าฟันกรามคุดล่างซี่ที่สาม วัสดุอุปกรณ์และขั้นตอนการทดลอง การศึกษาแบบปิดบังสองทาง สุ่มตัวอย่างแบบบล๊อคในอาสาสมัครอายุระหว่าง 18-40 ปีที่ ได้รับการผ่าฟันคุดกรามล่างซี่ที่สามที่จำเป็นต้องกรอกระดูกและแบ่งฟัน อาสาสมัครที่มีความเจ็บปวดหลังผ่าตัดในระดับปานกลางหรือมาก จะถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มจำนวนเท่ากัน โดยได้รับยา Tr/Ac หรือ Ibuจากนัน้ อาสาสมัครจะต้องให้ประเมินความเจ็บปวดโดยใช้การบอกความรู้สึกเป็นตัวเลขด้วยเลข 0-10 และประเมินระดับการบรรเทาอาการปวดโดยใช้ตัวเลข 5 ระดับ โดยประเมินทุกชั่วโมงจนครบ 6 ชั่วโมง B เมื่อสิ้นสุดการศึกษาอาสาสมัครจะประเมินความพึงพอใจโดยใช้ตัวเลข 5 ระดับ จากนัน้ ทำการคำนวณผลรวมระดับการบรรเทาความเจ็บปวดเมื่อครบ 6 ชั่วโมง (TOTPAR6) และผลรวมระดับความเจ็บปวด ที่เปลี่ยนแปลงเมื่อครบ 6 ชั่วโมง (SPID6) ภาวะไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาได้ถูกบันทึกด้วยเช่นกันผลการทดลองจากอาสาสมัครกลุ่มละ 33 คน ค่า TOTPAR6 ของกลุ่ม Tr/Ac (11.61±4.61) และกลุ่มIbu (13.18±4.60) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Wilcoxon rank sum test, p>0.05) ค่า SPID6 ของกลุ่ม Tr/Ac (19.76±11.43) และกลุ่ม Ibu (20.27±10.37) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (Wilcoxon rank sum test, p>0.05) อาสาสมัครในกลุ่ม Ibu มีความพึงพอใจมากกว่าอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (Chi square, p>0.05) ภาวะไม่พึงประสงค์ในกลุ่มTr/Ac มากกว่ากลุ่ม Ibu อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(Chi square, p<0.05) ภาวะง่วงซึมเป็นภาวะไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยที่สุดในทั้งสองกลุ่ม สรุปผลการทดลอง ยาผสมทรามาดอล 37.5 มก./อะเซตามิโนเฟน 325 มก.มีฤทธิ์ระงับปวดเฉียบพลันหลังการผ่าตัดฟันคุดได้เทียบเท่ายาไอบูโพรเฟน 400 มก. โดยทวั่ ไปอาสาสมัครมีความทนต่อการใช้ยาทั้งสองชนิดได้ดี ไอบูโพรเฟนจะได้คะแนนความพึงพอใจมากกว่ายาผสมทรามาดอลและอะเซตามิโนเฟนโดยที่ยาผสมทรามาดอลและอะเซตามิโนเฟน มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะไม่พึงประสงค์สูงกว่า | en_US |
dc.description.sponsorship | Research Institute of Rangsit University | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Research Institute of Rangsit University | en_US |
dc.subject | Third molars -- Surgery | en_US |
dc.subject | Ibuprofen -- therapeutic use | en_US |
dc.subject | Teeth -- Roots -- Surgery | en_US |
dc.title | Comparative study of efficacy of tramadol/acetaminophen combination tablet and ibuprofen in acute pain control after mandibular third molar surgery | en_US |
dc.title.alternative | รายงายวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษาเปรียบเทียบผลของยาผสมทรามาดอล/อะเซตามิโนเฟน และ ยาไอบูโพรเฟน ในการลดความเจ็บปวดเฉียบพลัน หลังจากการผ่าฟันคุดกรามล่างซี่ที่สาม | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | Background and Objective: Nonsteroidal anti-inflammatory drug(NSAIDs) is the most common analgesic drug inoral surgery. However, there are certain conditions that NSAIDs is contraindicated such asallergy to NSAIDs. Tramadol/acetaminophen is an alternative. The aim of this study was to compare the analgesic efficacy and subject’s overall satisfaction between tramadol 37.5 mg/acetaminophen 325 mg combination tablet(Tr/Ac) and ibuprofen 400 mg(Ibu) in acute pain control after surgical removal mandibular third molar. Materials and Methods: This double-blinded, block randomized controlled study in subjects aged between 18-40 years who were underwent surgical removal of mandibular third molar with overlying bone removal and tooth sectioning. Sixty-six subjects who sustained moderate to severe pain after surgery were randomized equally into two groups to receive either Tr/Ac or Ibu. The pain intensity using numeric pain rating scale of 0-10 and the pain relief using 5-point scale were recorded hourly after drug intake for the period of 6 hours. At the end of the study, overall satisfaction was recorded as a global assessment score on 5-point scale. The total pain relief of 6 hours(TOTPAR6) and the sum of pain intensity difference of 6 hours(SPID6) were calculated. These adverse drug reactions were also recorded. Results: The collected data from 33 subjects for each group was analyzed. TOTPAR6 of Tr/Ac(11.61±4.61) and Ibu(13.18±4.60) were not statistically significantly different (Wilcoxon rank sum test, p>0.05). Likewise, SPID6 of Tr/Ac(19.76±11.43) and Ibu(20.27±10.37) were not statistically significantly different (Wilcoxon rank sum test, p>0.05). Satisfaction was not significantly greater in Ibu group than Tr/Ac group(Chi square, p>0.05). The overall reported events of adverse effect in Tr/Ac group was significantly higher than Ibu group(Chi square, p<0.05). Drowsiness was the most common adverse effect in both groups. Conclusion: The analgesic efficacy of tramadol 37.5 mg /acetaminophen 325 mg in acute pain control after mandibular third molar surgery was comparable to Ibuprofen 400 mg. Both agents were generally well tolerated. Ibuprofen has a better satisfaction score than tramadol/acetaminophen, whereas ramadol/acetaminophen is associated with a higher incidence of adverse effects. | en_US |
Appears in Collections: | Den-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RAPEEPORN MALUNGPAISHROPE.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.