Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริ เกณฑ์ขุนทด-
dc.contributor.authorชิตสุดา ชัยศักดานุกูล-
dc.contributor.authorเบ็ญจรัก วายุภาพ-
dc.date.accessioned2024-07-19T07:21:05Z-
dc.date.available2024-07-19T07:21:05Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2498-
dc.description.abstractการวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์บะหมี่ผักเสริมวิตามิน โดยทดลองน่าผักที่มีวิตามินเอสูง จํานวน 5 ชนิด ผักต่าง ใบ ฟักทอง มะเขือเทศ มะละกอ และแครอท มาปั่นให้ละเอียด โดยใช้น้ําหนักผัก ต่อน้ําสะอาด 100 กรัม ต่อน้ํา 250 มิลลิลิตร แล้วนําทั้งน้ําและเนื้อผักมาใช้เป็นส่วนผสมในสูตรบะหมี่ แทนน้ําเปล่าในชุดควบคุม แล้วนําเส้นบะหมี่ที่ได้ไปวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัส จากการทดลองพบว่า บะหมี่ที่ใช้ผักตําลึง ฟักทองและแครอทเป็นส่วนผสมมี องค์ประกอบทางเคมีที่สําคัญคือวิตามินเอและเส้นใยหยาบสูงกว่าบะหมี่ผักชนิดอื่นและสูงกว่าชุด ควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยบะหมี่ตําลึง บะหมี่ฟักทองแกะ บะหมีแครอท มีวิตามินเอ 85.66 10.32 และ 124.48 ไมโครกรัมต่อ 100 กรัมตาม าดับ และมีสันใ หยาบ เท่ากับ 1.78 0.547 1.367 มิลลิกรัม - กรัมตามลําดับส่วนบะหมี่ในชุดควบคุมที่ใช้นําเปล่า เป็น วนผสมมีปริมาณวิตามินเอ 1.76 1 มต่อ 100 กรัมและมีเส้นใยหยาบ 0.004 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม และผลการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสพบว่า อยู่ในยาน ชอบปานกลางถึงชอบมาก โดย บะหมี่ตําลึงมีคะแนน เฉลี่ย 656 บะหมี่ฟักทอง 5.20 คะแนนและบะหมี่แครอท 6.01 ตามลําาดับ จากนั้นจึงน่ามะหยี่ผักทั้ง นิม กษาอายุการเก็บรักษาโดยบรรจุในถุงพลาสติก และบรรจุในถาด โฟมหุ้มฟิล์มทีวี แล้ บรักษาที่ 15 องศาเซลเซียสและที่อุณหภูมิห้อง จากการศึกษาพบว่าภาชนะบรรจุ ไม่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของบะหมี่ผัก ส่วนอุณหภูมิในการเก็บรักษามีผลต่ออายุการเก็บ รักษาโดยบะหมี่ที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง มีอายุการเก็บรักษา อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส มีอายุการเก็บรักษานาน 6 วันen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectอาหารกึ่งสำเร็จรูป -- วิจัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหาร -- วิจัยen_US
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์บะหมี่เสริมวิตามินen_US
dc.title.alternativeProduct development of noodle added vitaminsen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this research was to develop vegetable raw noodle added with vitamin. Five vegetables with high vitamin A content such as ivy, bai yor, pumpkin, tomato and carrot were blended and pressed. Mixed vegetable juice and water in the ratio of 100 grams per 250 ml. Was used as the gradient of vegetable noodle instead of water in the control formular. The chemical, physical, Microorganism and sensory evaluation were analyzed. It was found that the raw noodle added with ivy, pumpkin and carrot juice had higher Vitamin A and crude fiber than others formular at 95 % significant level. Ivy noodle, pumpkin noodle and carrot noodle were composed of 85.66,10.32 and 124.48 μg/100 g Vitamin A and 1.78,0.547 and 1.367 mg/100 g. crude fiber respectively. The control noodle formular was composed of 1.76 μg/100 g Vitamin A and 0.004 mg./100 g. crude fiber. The sensory evaluation was moderate to most accept. The average marks of ivy noodle, pumpkin noodle and carrot noodle were 6.56, 6.20 and 6.0 respectively. The shelf life of 3 vegetable noodles, packed in PP plastic bag and foam tray with PVC wrapped kept at 15 °C and room temperature were studied. It was found that the packaging has no significant in quality and temperature. The vegetable noodle kept at room temperature and 15 °C had 3 and 6 days shelf life respectivelyen_US
Appears in Collections:Arg-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SIRI KRATKHUNTHOT.pdf12.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.