Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2500
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อสมาพัณณ์ บุญเกิด | - |
dc.contributor.author | พีระ ศรีประพันธ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-25T02:34:09Z | - |
dc.date.available | 2024-07-25T02:34:09Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2500 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสร้างเกณฑ์ปกติ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้ง นี้เป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ประจําปีการศึกษา 2563 จํานวน 350 คน ประกอบด้วยนักศึกษาชาย จํานวน 175 คน นักศึกษาหญิง จํานวน 175 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่าง ง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุขภาพ Physical Best ที่สร้างขึ้นโดย AAHPERD สมาคมสุขศึกษา พลศึกษา นันทนาการและการ เต้นรําแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (The American Alliance for Health Physical Education Recreation & Dance) ซึ่งประกอบด้วยแบบทดสอบ 3 รายการ คือ วิ่ง / เดิน 1 ไมล์ (one mile walk - run) นั่งงอตัวไปข้างหน้า (sit and reach) ดัชนีมวลกาย BMI (Body Mass Index)และแบบทดสอบสมรรถภาพทาง กายเพื่อสุขภาพของ KASETSART Youth Fitness Test อีก 2 รายการ คือ ลุก นั่ง 60 วินาที (sit – ups 60 sec) ดันพื้น 30 วินาที (push – ups 30 sec) การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยทําการวิเคราะห์โดยการหา ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสร้างเกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยใช้ คะแนนมาตรฐาน Z (Z-Score) ผลการวิจัยพบว่า ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต เพศ ชายและเพศหญิงอยู่ในภาวะเกณฑ์ปกติ รายการดันพื้น 30 วินาที พบว่านักศึกษาเพศชายและนักศึกษา เพศหญิง อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง รายการนั่งงอตัวไปข้างหน้า พบว่านักศึกษาเพศชาย อยู่ในเกณฑ์ปาน กลาง และนักศึกษาเพศหญิงอยู่ในเกณฑ์ต่ํา รายการลุกนั่ง 60 วินาที พบว่านักศึกษาเพศชาย อยู่ใน เกณฑ์ปานกลางและนักศึกษาเพศหญิงอยู่ในเกณฑ์ต่ํา รายการวิ่งเดิน 1 ไมล์ พบว่านักศึกษาเพศชาย และนักศึกษาเพศหญิง อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง เมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักศึกษา มหาวิทยาลัย รังสิต นักศึกษาเพศชายอยู่ในเกณฑ์ปานกลางและนักศึกษาเพศหญิงอยู่ในเกณฑ์ต่ํา นักศึกษาเพศชาย มีความสามารถทางกายที่ดีกว่านักศึกษาเพศหญิงทุกรายการ นักศึกษาชายที่มีอายุแตกต่างกัน อายุ 18 ถึง 21 ปี) ในรายการองค์ประกอบสัดส่วนร่างกาย ดันพื้น 30 วินาที และวิ่งเดิน 1 ไมล์ มีความแตก ต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.5 ส่วนนักศึกษาเพศหญิง มีพียงรายการเดียว องค์ประกอบสัดส่วน ร่างกาย ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.5 | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยรังสิต -- นักศึกษา -- การทดสอบสมรรถภาพ | en_US |
dc.subject | สมรรถภาพของร่างกาย -- การทดสอบ -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สุขภาพ -- โปรแกรมประยุกต์ | en_US |
dc.subject | สมรรถภาพทางกาย -- นักศึกษา | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.title.alternative | A Study of health-related physical fitness for students of Rangsit University | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aims to study physical fitness for health and establish normal criteria for undergraduate students of Rangsit University for the academic year 2020. The sample groups were students enrolled in Physical Education and Recreation courses of the academic year 2020. There were 350 students, consisting of 175 males and 175 females, obtained by simple random sampling. The instrument was the Physical Best which is a physical fitness test, created by AAHPERD (the American Alliance for Health Physical Education Recreation & Dance) consisted of three tests: one mile walk/run, sit and reach, Body Mass Index (BMI), and KASETSART Youth Fitness Tests for health consisted of 2 lists: sit-ups 60 seconds, and push-ups 30 seconds. The data analysis was analyzed by finding the mean (X), standard deviation (S.D.), and establishing physical fitness criteria for health using a standard Z-Score. The results showed that the Body Mass Index (BMI) of Rangsit University students, males, and females, was found to be in normal conditions. The push-ups 30 seconds program found that male students and female students are on the neutral scale. While sit and reach program found that male students are on the neutral scale and female students were in low scale. The sit-ups 60 seconds program found that male students on the neutral scale and female students on the low scale. The one mile walk/run program found that male and female students on the neutral scale compared to benchmarks. From this study, the physical fitness criteria for the health of students of Rangsit University were determined that the male students were in the neutral scale and the female students were in the low scale. That means male students have physically better than female students. The male students with different ages (18 to 21 years old) on the body composition lists: push-ups 30 seconds and one mile walk/run, were significantly different at the 0.5 scale, while female students had only one item on the list: body proportions, were significantly different at the 0.5 scale. | en_US |
Appears in Collections: | SpI-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ASAMAPAN BOONGERD.pdf | 4.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.