Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพนิตนาฏ ชูฤกษ์-
dc.date.accessioned2024-07-25T03:15:22Z-
dc.date.available2024-07-25T03:15:22Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2504-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะอ่านภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นความสนใจของนักศึกษาในระดับก่อนชั้นกลางของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะการอ่านของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อคัดเลือกและรวบรวมเนื้อเรื่อง และ เรื่องสั้นที่เป็นที่สนใจสําหรับนักศึกษา และทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝึกที่ผู้วิจัยทดลองทําขึ้นนอกจากนั้นยังทําการสํารวจทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมที่ผู้วิจัยดําเนินการวิจัยสําหรับการดําเนินการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีวิจัยเชิงทดลอง โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 ( Foundation English II : ENG102 ) กลุ่ม 20, 25, 37, 42 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2545 จํานวนทั้งสิ้น 127 คน ผู้วิจัยได้นําแบบทดสอบก่อนการเรียน (Pre-test) ไปทําการทดสอบกลุ่มตัวอย่างก่อน การทดลองสอน เพื่อวัดความสามารถในการอ่านของนักศึกษาก่อนได้รับการฝึกอ่าน โดยใช้แบบ ฝึกที่ ผู้วิจัยเตรียมไว้ โดยใช้เวลาในการทําการทดสอบ 45 นาที หลังจากนั้นจึงทําการทดลอง สอน กลุ่มตัวอย่างโดยใช้เวลา 30 นาทีต่อครั้ง หลังจากเสร็จสิ้นการสอน ผู้วิจัยทําการทดสอบ หลัง การสอน (Post-test) เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียน พร้อมทั้งศึกษาทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมโดยใช้แบบสอบถามวัดทัศนคติประมวลผล ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Window หลังจากนั้นได้ทําการผู้วิจัยได้ใช้สถิติ t-test pair เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการทดสอบสมมติฐาน การวิจัยนั้น เป็นไปตามสมมติฐานที่กําหนดไว้ คือ คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน (Post - test) ของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะอ่านภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียน ( Pre – test ) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 กล่าวคือ ค่าเฉลี่ยของคะแนนของกลุ่มตัวอย่างมีการพัฒนาทักษะอ่านภาษาอังกฤษ ในทางที่ดีขึ้น เมื่อได้ ทําการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะอ่านภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นนอกจากนี้ผลการสํารวจทัศนคติของนักศึกษา ยังแสดงให้เห็นว่า นักศึกษามีทัศนคติที่ดี มากต่อกิจกรรมการฝึกอ่านถึง ร้อยละ 95.3 ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่าการเรียนการสอนที่ใช้แบบฝึก ทักษะอ่านภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เหมาะสมที่จะใช้เพื่อพัฒนาการทักษะอ่านของนักศึกษาen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่าน -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- คำศัพท์en_US
dc.titleโครงการวิจัย เรื่อง ประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นความสนใจของนักศึกษาในระดับก่อนขั้นกลางของ นักศึกษาในมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of the supplementary reading selections based on sudents] interest of pre-intermediate level students of Rangsit Universityen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purposes of the study were to examine the effectiveness of the reading selection prepared by the researcher, to develop Rangsit University Students' reading skill, to prepare and collect the reading selections and short scores based on students' interest, and to study students' attituce toward the reading selections. The subjects were 127 students of Rangsit University who enrolled in Foundation English 2 in the first semester of the academic year of 2002. The subjects were pre-tested before they were practiced with the reading selections prepared by the researcher. The pretest toc-45 minutes. After that, they were practiced their reading skill for 30 minutes each penop. At the end of the term , the post-test was administered to measure the students' reading skills achievement and a questionnaire was also distributed to investigate the students' attitude toward the activities. The data were analyzed by SPSS for window. A t-test pair was then applied to determine a significant difference between students' mean scores from pre-test and post-test and post-test. The result was greater than that of the pre-test at the 0.05 level. The result from the analysis of the questionnaire also revealed that the students had very good attitude toward the reading selections at 95.3%. It can be concluded that the reading selections prepared by the researcher worked effectively with the students.en_US
Appears in Collections:LiA-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PANITNAT CHURERK.pdf14.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.