Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2506
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กานดา ว่องไวลิขิต | - |
dc.contributor.author | สายทิพย์ ณ เวียงจันทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-31T06:06:43Z | - |
dc.date.available | 2024-07-31T06:06:43Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2506 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ทดลองสอนโดยใช้สารพอลิเมอร์ที่เตรียมขึ้นจําลองเป็นอะตอมกลางและไม้ตะเกียบเป็นแขนพันธะ เพื่อสาธิตการสอนเคมีเรื่องรูปร่างโมเลกุล กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 จํานวน 2 ห้องเรียน ทั้งหมด 85 คน ผลการวิจัยพบว่าแบบจําลองทําให้นักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ระดับมาก อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพจากแบบฝึกหัดและคะแนนหลังเรียนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 ซึ่งอาจเนื่องจาก นักเรียนต้องการองค์ความรู้ร่วมเรื่องอื่นเช่น สูตรลิวอิส ที่ยังไม่ได้เรียน ผลโดยรวมของการใช้ แบบจําลองสามารถเพิ่มผลการเรียนรู้และกระตุ้นความสนใจอยากเรียนรู้ในบทเรียนที่นามธรรมได้ดี | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | เคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย | en_US |
dc.subject | โมเลกุล -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.title | การสร้างแบบจำลองโมเลกุลอย่างง่ายสำหรับการสอนเรื่องรูปร่างโมเลกุล เพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการนนทบุรี | en_US |
dc.title.alternative | The construction of simple molecular teaching model for molecular geometry to attain chemistry learning outcomes of Mattayomsuksa 4 students at Triamudomsuksa Pattanakan Nonthaburi School | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research is a demonstration for teaching molecular geometry using a simple polymer as a model of the central atom and chopsticks as the bonding. The sample group was 85 students in 2 classrooms of science-mathematics program students at matthayomsuksa 4. The result showed that the achievement of post tests were higher than the pretests at the 0.01 level of significance. The learning satisfactory was high. However, the effectiveness of exercise and posttests did not meet the criteria of 75/75. It was attributed to the lack of the prior background concepts such as Lewis structure. Satisfyingly, the teaching approach with polymer model could enhance students' learning outcomes and stimulate their interest for abstract concep | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SAITHIP NA WEANGCHAN.pdf | 65.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.