Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2534
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุธีราภรณ์ แสงจันทร์ศรี | - |
dc.contributor.author | อาทิตยา โภคสุทธิ์ | - |
dc.contributor.author | พิมุข สุศีลสัมพันธ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-16T06:33:01Z | - |
dc.date.available | 2024-09-16T06:33:01Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2534 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากฎหมายของประเทศไทยและกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ 2) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมายของประเทศไทยและกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ และ 3) เพื่อหาข้อเสนอแนะหรือแนวทางในการพัฒนากฎหมายของประเทศไทยให้มีความครอบคลุมและเหมาะสมในการคุ้มครองผู้บริโภคจากการเข้าถึงการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยจากหนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องผลการวิจัยพบว่าประเทศไทยไม่มีกฎหมายเฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดมาตรการในการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ในการนำรูปภาพหรือวีดีโอที่มีการปรับแต่งมาใช้ในการโฆษณา ซึ่งทำให้เกิดปaญหาในการนำกฎหมายหลายฉบับมาปรับใช้ และมาตรการทางกฎหมายที่มีอยู่ไม่ครอบคลุมเพียงพอที่จะนำมาใช้คุ้มครองผู้บริโภคในกรณีดังกล่าวได้อย่างเหมาะสมในขณะที่ประเทศนอร์เวย์ และประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศสมีมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ในการนำรูปภาพหรือวีดีโอที่มีการปรับแต่งมาใช้ในการโฆษณาเป็นการเฉพาะ เพื่อให้ผู้บริโภคทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับรูปภาพหรือวีดีโอที่นำมาใช้ในการโฆษณาอย่างถูกต้อง และตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าหรือบริการได้อย่างเป็นธรรมข้อเสนอแนะจากการวิจัยพบว่า ควรมีการบัญญัติกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ว์เป็นการเฉพาะในการแสดงเครื่องหมายหรือข้อความกำกับรูปภาพหรือวีดีโอที่มีการปรับแต่งมาใช้ในการโฆษณา เพื่อแสดงถึงความโปร่งใสในการโฆษณา ตลอดจนควรมีการให้ความรู้และสร้างทัศนคติเกี่ยวกับมาตรฐานความงามที่ถูกต้องเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งหน่วยงานของรัฐควรดำเนินการเชิงรุก เพื่อกำกับดูแลและตรวจสอบการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ให้เป็นไปอย่างเหมาะสม | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | กฎหมายโฆษณา | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ -- การโฆษณา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ -- อิทธิพล | en_US |
dc.subject | มาตรการทางกฎหมาย | en_US |
dc.subject | อินฟลูเอนเซอร์ | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาของผู้ทรงอิทธิพลบนสื่่อสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.title.alternative | Legal Measures to Control the Advertising of Influencers | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were 1) to study the laws of Thailand and foreign laws regarding the regulation of advertising by social media influencers; 2) to analyze and compare the laws of Thailand and foreign laws regarding the regulation of advertising by social media influencers; and 3) to seek suggestions for developing laws in Thailand to protect consumers from access to advertising by social media influencer comprehensively and appropriately. This research was documentary research using books, journal articles, theses, and related electronic media. It was found that Thailand does not provide the specific laws enacted for regulating the advertising by social media influencers in the use of retouched images or videos. This has led to difficulties in implementing many laws, and existing legal measures are not comprehensive enough to properly protect consumers in such cases. Norway and France have enacted laws to regulate the advertising of social media influencers for the use of retouched images or videos. These legal measures provide consumers with accurate facts about images or videos used in advertising. It was recommended that a specific law be enacted to regulate advertising by social media influencers for displaying marks or text for altered images or videos used for advertising. There should also be education and the creation of the right attitude about beauty standards to protect consumers. Moreover, government agencies should take proactive steps to properly supervise and monitor the advertising of influencers on social media | en_US |
Appears in Collections: | Law-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUTEERAPORN SAENGCHANSRI.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.