Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2550
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กานดา ว่องไวลิขิต | - |
dc.contributor.author | บุณยรัศมี สุขเขียว | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-17T02:54:47Z | - |
dc.date.available | 2024-09-17T02:54:47Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2550 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสังเคราะห์พอลิเอไมด์ที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยสารออกซิไดซ์ งานวิจัยเริ่มจากการสังเคราะห์พอลิเอไมด์ที่มีองค์ประกอบไดเอซีลไฮดราไซด์ได้ โดยแบ่งขั้นตอนการ สังเคราะห์เป็น 1) การสังเคราะห์สารตั้งต้น Terephthaloyl bis(leucine methyl ester) 2) การ สังเคราะห์มอนอเมอร์ชอง Diacylhydrazide โดยการทําปฏิกิริยาระหว่าง Terephthaloyl bis (leucine methyl ester) และ Hydrazine 3) การสังเคราะห์พอลิเมอร์โดยใช้ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟคัปปลิง โดยใช้ สารโอโซนเป็นสารออกซิไดซ์ ซึ่งพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ได้มีสีขาวใส ลักษณะมีความเหนียวยืดหยุ่นตาม ลักษณะทั่วไปของโพลิเอไมด์ พิสูจน์เอกลักษณ์ของพอลิเมอร์ด้วยเครื่องมือ นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ เทคนิคแมสสเปกโตรสโคปี และฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ รวมทั้งทดสอบการ กระจายมวลโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยเทคนิคเจลเพอร์มิเอชันโครมาโตกราฟี และเครื่องดิฟเฟอร์เชียลสแกนนิ่งคาโรลิมิเตอร์ ซึ่งสรุปได้ว่าสามารถสังเคราะห์สารพอลิเมอร์ไดเอซีลไฮดราไซด์ได้ตามเป้าหมายสําหรับการทดสอบการเสื่อมสภาพของพอลิเมอร์ ใช้สารออกซิไดซ์สองชนิด โดยเมื่อใช้สารโซเดียมไฮโปคลอไรต์พบว่าพอลิเมอร์สามารถเสื่อมสภาพสลายตัวได้สารกลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ละลายน้ํา ได้ร่วมกับแก๊สไนโตรเจน และเมื่อทดลองการเสื่อมสภาพด้วยแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ พบว่าการเปลี่ยนสภาพเป็นสารออกซาโซลิโนนที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นสารโซเดียมไฮโปคลอไรต์จึงมีความเหมาะสมสําหรับ เป็นสารย่อยสลายพอลิเมอร์มากกว่า สรุปว่างานวิจัยนี้สามารถสังเคราะห์พอลิเมอร์ตระกูลพอลิเอไมด์ที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยสาร ออกซิไดซ์ได้สําเร็จ ซึ่งสามารถเป็นจุดเริ่มต้นของการผลิตพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้เพื่อใช้ทดแทนพอลิเมอร์ ในปัจจุบัน โดยสามารถพัฒนาเพื่อเป็นทางเลือกสําหรับการลดขยะพอลิเมอร์ในอนาคตได้ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พอลิเมอร์ -- แง่สิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | โพลิเมอร์ -- สารเติมแต่ง | en_US |
dc.subject | พอลิไดเอซิลไฮดราซีน -- วิจัย | en_US |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย การสังเคราะห์พอลิไดเอซิลไฮดราไซด์ที่ย่อยสลายได้ด้วยสารออกซิไดซ์ | en_US |
dc.title.alternative | Synthesis of poly(diacylhydrazine) decomposed by oxidizing agent | en_US |
dc.type | Other | en_US |
dc.description.other-abstract | This research focuses on the synthesis of a polyamide that can be biodegraded by oxidizing agents. The research began with the synthesis of a polyamide composed of diacylhydrazide. The synthesis process was divided into three steps: 1) the initial synthesis of Terephthaloyl bis(leucine methyl ester), 2) the synthesis of the diacylhydrazide monomer via the reaction of Terephthaloyl bis(leucine methyl ester) with Hydrazine, and 3) the polymer synthesis using oxidative coupling reactions with ozone as the oxidizing agent. The resulting polymer had a transparent white color and exhibited the typical stickiness and flexibility of polyamides. The polymer was characterized using Nuclear Magnetic Resonance (NMR), Mass Spectroscopy, Fourier-Transform Infrared Spectroscopy (FTIR), Gel Permeation Chromatography (GPC), and Differential Scanning Calorimetry (DSC). The results confirmed the successful synthesis of the targeted diacylhydrazide polymer. In terms of degradation tests of the polymer, two types of oxidizing agents were used. The use of Sodium Hypochlorite resulted in the degradation of the polymer, releasing water-soluble carboxylic acids and nitrogen gas. In the case of nitrogen dioxide, the degradation process resulted in the formation of larger oxazolidinone compounds. Therefore, Sodium Hypochlorite is more suitable as a polymer-degrading agent. In conclusion, this research successfully synthesized a biodegradable polyamide using oxidizing agents. This could serve as a starting point for producing biodegradable polymers as a replacement for current polymers, potentially offering a solution for reducing polymer waste in the future | en_US |
Appears in Collections: | Sci-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KANDA WONGWAILIKIT.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.