Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกชมน อินทร์บัว-
dc.date.accessioned2024-09-17T06:07:28Z-
dc.date.available2024-09-17T06:07:28Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2559-
dc.description.abstractการเปรียบเทียบประสิทธิผลของการตอกเส้นและการเช็ดแหก เพื่อบรรเทาอาการของโรคออฟฟิศซินโดรม เป็นการวิจัยทางคลินิก มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดและองศาการเคลื่อนไหวก่อนและหลังการบาบัด โดยใช้แบบสอบถาม แบบประเมินระดับความเจ็บปวดและแบบประเมินองศาการเคลื่อนไหว เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน เพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 20-60 ปี โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 จำนวน 15 คน จะได้รับการบำบัดด้วยวิธีการตอกเส้น และกลุ่มที่ 2 จำนวน 15 คน จะได้รับการบาบัดด้วยวิธีการเช็ดแหก ทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการบำบัดบริเวณคอ บ่า ไหล่ สะบัก และหลัง เป็นเวลา 15-20 นาที/ครั้ง และจะได้รับการบำบัดทั้งหมด 3 ครั้ง บำบัดสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และจะได้รับการประเมินระดับความเจ็บปวดและประเมินช่วงการเคลื่อนไหวของคอและหลัง โดยใช้อุปกรณ์วัดมุมการเคลื่อนไหว และใช้สถิติ Pair sample t-test มาเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการบำบัดด้วยวิธีการตอกเส้นและวิธีการเช็ดแหก พบว่า ระดับความเจ็บปวดลดลงและองศาการเคลื่อนไหวของคอและหลังเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของทั้ง 2 วิธีการบำบัด พบว่า การบำบัดด้วยวิธีการเช็ดแหก สามารถทำให้ระดับความเจ็บปวดลดลง และองศาการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นได้มากกว่าการบำบัดด้วยวิธีการตอกเส้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรคเกิดจากอาชีพ -- การรักษาen_US
dc.subjectโรคออฟฟิศซินโดรมen_US
dc.subjectการแพทย์ทางเลือก -- ไทยen_US
dc.subjectหมอพื้นบ้านen_US
dc.subjectการเช็ดแหกen_US
dc.subjectการตอกเส้นen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการตอกเส้นและการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาอาการของโรคออฟฟิศซินโดรมen_US
dc.title.alternativeA study of efficiency comparison of Toksen and Ched Heak therapy of relieve the office syndrome symptomsen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractA comparison of the effectiveness of Tok Sen (Tapping line therapy) and Ched Hake to office syndrome relief. The objective to compare pain levels and degrees of movement before and after therapy. The 30 volunteers are males and females between 20-60 years old. There were 15 peoples that will be treated with Tok Sen (Hammer massage) and more 15 peoples will be treated with Ched Hake. The Both groups were treated on the neck, shoulder, scapula and back for 15-20 minutes per time, once a week for 3 consecutive weeks. The assessment of pain scale and the range of motion of the neck and back. We used paired sample t-test statistic with statistically significant at p<0.05 to compare the data. The results showed Ched Hake therapy able to reduce the pain level and the degree of movement was greater than Tok Sen therapyen_US
Appears in Collections:Ort-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KOCHAMON INBUA.pdf8.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.