Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพีระ ศรีประพันธ์-
dc.date.accessioned2024-09-18T02:54:53Z-
dc.date.available2024-09-18T02:54:53Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2579-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี และตัวแปรที่มีอำนาจในการทานายพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 420 คน อายุระหว่าง 18-60 ปี ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ทำการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ค่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยสถิติไคสแควร์ และวิธีการของเพียร์สัน โปรดัก โมเมนต์ การวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นตัวพยากรณ์ในการทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณด้วยวิธีวิเคราะห์แบบขั้นตอน กำหนดความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรีอยู่ใน1.ระดับปานกลาง (คะแนน 53.20-57.88) ด้านปัจจัยลักษณะบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ 2.หลัก รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และประวัติการเจ็บป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านปัจจัยนำ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายและการเล่นกีฬามีความสัมพันธ์ 3.ทางบวกกับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.319) ส่วนทัศนคติเกี่ยวกับการออกกาลังกายและการเล่นกีฬา กับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านปัจจัยเอื้อ ได้แก่ นโยบายส่งเสริมการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์ทางลบกับ 4.พฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = -0.117) ทรัพยากรบุคคลสนับสนุนการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา สถานที่และอุปกรณ์ในการออกกำลังกายและการเล่นกีฬากับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านปัจจัยเสริม ได้แก่ การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมและครอบครัวมีความสัมพันธ์ 5.ทางบวกกับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.206) ส่วนการได้รับข้อมูลข่าวสารการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาจากสื่อกับพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตัวแปรที่สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของ 6.ประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมและครอบครัว ตัวแปรทั้ง 2 ตัว สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ร้อยละ 13.20en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการออกกำลังกาย -- ไทย -- สุพรรณบุรีen_US
dc.subjectกีฬา -- พฤติกรรม -- ไทย -- สุพรรณบุรีen_US
dc.subjectการออกกำลังกาย -- การส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย พฤติกรรมการออกกาลังกายและการเล่นกีฬาของประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรีen_US
dc.title.alternativeExercise and playing sport behaviors of people in Suphanburi Provinceen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this research was to study at the factors Correlation Coefficient and variables with the power to predict exercise and sports behaviors in Suphanburi Province. Stratified Random Sampling was used to gather (collect) 420 people between the ages of 18-60. The data was collected by using questionnaire constructed by the researcher. The statistics were often percentages, arithmetic means, standard deviation, and Cronbach's Alpha. Chi-square test and Pearson's correlation coefficient were used to analyze the relationships between the demographic factors, predisposing factors, enabling factors, reinforcing factors, and exercise and playing sports behavior of the people in Suphanburi Province. Analyze the factors predictors exercise behavior and playing sports by Stepwise multiple regression method. The statistical significant was determined 0.05 level The majors findings were as follows: Exercise and sports behavior of people in Suphanburi Province were at 1.a moderate level (score 53.20-57.88). The demographic factors, such as gender, age, marital status, education 2.level, occupation, monthly income, and illness history, do not correlate with exercise behaviors. at a 0.05 statistical significance level. ง The predisposing factors such as knowledge toward exercise and playing 3.Sport with exercise behaviors of people in Suphanburi Province. There was a statistically significant positive correlation at the 0.01 level (r = 0.319), while the attitude about exercise and playing Sport with the exercise behaviors of people in Suphanburi Province. There was no statistically significant correlation at the 0.05 level The enabling factor, the clearness of policies on exercise to people’s 4.behavior in doing exercise and playing sport. There was a negatively statistical significant correlation at the .05 level (r = -0.117), however the supporting of personal resources on exercise and the places suitable and equipments, the second enabling factor was not statistically and significantly correlated (at the 0.05 level) to people’s behavior in doing exercise and playing sport. The reinforcing factor, which is the social and family support, with 5.behavior of people in doing exercise and playing sport. There was a statistically significant correlation at the .01 level (r = 0.206). While, there was no statistically significant correlation at the 0.05 level of receiving information about doing exercise and playing sport, with behavior of people in doing exercise and playing sport. The variable that could best jointly predict people's exercise behavior 6.were1) the knowledge about exercise and sport, 2) the support by social and family. Overall, these factor could predict people's exercise behaviors in 13.20 percentageen_US
Appears in Collections:SpI-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PEERA SRIPRAPHAN.pdf838.98 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.