Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนี นามจัทรา-
dc.contributor.advisorวารินทร์ บินโฮเซ็น-
dc.contributor.authorดวงใจ ดุดัน-
dc.date.accessioned2024-11-01T02:50:47Z-
dc.date.available2024-11-01T02:50:47Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2610-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู่ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองต่ออาการกำเริบและการใช้บริการสุขภาพในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและอดบุหรี่ สถาบันโรคทรวงอก เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเอง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการกำเริบ และแบบบันทึกการใช้บริการสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Chi-square, Fisher’s exact test, Wilcoxon Signed Ranks test, Mc Nemar test, และ Mann Whitney U test ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรม มีอาการกำเริบน้อยกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และหลังทดลองผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีการใช้บริการสุขภาพเนื่องจากอาการกำเริบน้อยกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และน้อยกว่ากลุ่มเปรียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองช่วยให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีอาการกาเริบลดลง และมีการใช้บริการสุขภาพเนื่องจากอาการกาเริบลดลง ดังนั้นควรนำโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองไปใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแลen_US
dc.subjectปอด, โรคจากการอุดกั้นเรื้อรัง -- การรักษา -- วิจัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองต่ออาการกำเริบและการใช้บริการสุขภาพในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeEffects of self-management support program on exacerbation and health care utilization among patients with chronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this quasi-experiment research was to study the effect of self-management support program on exacerbation and health care utilization among patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). The participants were 60 patients with COPD who attended COPD and Smoking Cessation Clinic of Central Chest Institute of Thailand. Subjects were chosen by purposive sampling and divided to an experiment and comparative group equally (30 people per group). The experiment group received self-management support program whereas the control group obtained the routine nursing care. Research instruments for data collection included a demographic questionnaire, exacerbation assessment form, and health care utilization record. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square, Fisher’s exact test, Wilcoxon Signed Ranks test, Mc Nemar test, and Mann Whitney U test. The research results revealed that after receiving the program, the patients in experiment group had significantly less exacerbation than before (p<.001) and significantly less than the patients in comparative group (p.<05). The experiment group also had significantly less health care utilization due to exacerbation than before (p<.001) and significantly less than the comparative group (p<.01). The results indicate that self-management support program could reduce exacerbation and health care utilization. Therefore, it should be applied to nursing practice for caring patients with COPDen_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
DUANGJAI DUDUN.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.