Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2618
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ | - |
dc.contributor.advisor | รัชนี นามจันทรา | - |
dc.contributor.author | เยาวภา งามเกลี้ยง | - |
dc.date.accessioned | 2024-11-01T03:21:45Z | - |
dc.date.available | 2024-11-01T03:21:45Z | - |
dc.date.issued | 2567 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2618 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู่ใหญ่และผู้สูงอายุ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research ) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อความรู้ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ก่อนการรักษาด้วยไอโอดีน 131 ขนาดสูง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 36 ราย ได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลอง 36 ราย ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลด้านสุขภาพ แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับมะเร็งไทรอยด์และการเตรียมตัวก่อนได้รับไอโอดีน 131 ขนาดสูง แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองก่อนได้รับไอโอดีน 131 ขนาดสูง และแบบประเมินความวิตกกังวลขณะเผชิญ เก็บข้อมูลก่อนได้รับโปรแกรม (T1) หลังได้รับโปรแกรม 2 สัปดาห์ (T2) และหลังได้รับโปรแกรม 5 6 สัปดาห์ (T3) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา Wilcoxon Sign Rank test, Mann-Whitney U test, Independent t-test และ Paired t-test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรม 5 6 สัปดาห์ (T3) กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้ มากกว่า คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองมากกว่า และมีคะแนนความวิตกกังวลน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (T1) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และกลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้(T3) คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเอง (T2, T3) มากกว่า และมีคะแนนความวิตกกังวล (T3) น้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลการวิจัยสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ที่ต้องได้รับไอโอดีน 131 ขนาดสูง เพื่อเพิ่มความรู้ ความมั่นใจในการดูแลตนเอง และช่วยลดความวิตกกังวล | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการดูแลตนเอง | en_US |
dc.subject | มะเร็งไทรอยด์ -- การคัดกรอง | en_US |
dc.subject | การดูแลตนเอง, ทฤษฎี | en_US |
dc.subject | ต่อมไทรอยด์ -- มะเร็ง | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อความรู้ พฤติกรรมการดูแลตนเองและความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งไทรอยด์ก่อนการรักษาด้วยไอโอดีน 131 ขนาดสูง | en_US |
dc.title.alternative | Effects of self-care promotion program on knowledge, self-care behavior and anxiety in thyroid cancer patients before high-dose iodine 131 treatment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This quasi-experimental research with a two-group pretest-posttest design aimed to study the effects of self-care promotion program on knowledge, self-care behavior and anxiety in Thyroid cancer patients before high-dose Iodine 131 treatment. The sample was selected using a simple random method to allocate 36 patients each to the control and experimental groups. The control group received standard nursing care, while the experimental group received a self-care promotion program. Data were collected using personal and health information questionnaires, a knowledge questionnaire, a questionnaire regarding self-care behavior before receiving high-dose iodine-131, and The State-Trait Anxiety Inventory. These measurements were assessed at baseline (T1), 2 weeks (T2), and 5-6 weeks (T3) post intervention. Descriptive statistics, Wilcoxon Sign Rank test, Mann-Whitney U test, Independent t-test and Paired t-test were utilized to analyze data. The results showed that at T3, the experimental group had higher knowledge scores and higher self-care behavior scores, whereas anxiety scores were lower than T1 with statistical significance. Moreover, the experimental group had higher knowledge scores (T3), higher self-care behavior scores (T2, T3), while anxiety scores (T3) were lower than the control group with statistical significance. The research results can be used as guidelines for caring for thyroid cancer patients treated with high doses of iodine 131 to enhance patient’s knowledge, promote self-care confidence, and reduce anxiety | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
YAOWAPA NGAMKLEANG.pdf | 1.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.