Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2726
Title: การคุ้มครองสิทธิของเด็กที่เกิดตามพระราชบัญญัติเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ.2558
Other Titles: Protection of the rights of children born under medically assisted reproductive technology act, B.E. 2558
Authors: ศุภาพิชญ์ อิงคโชติวณิช
metadata.dc.contributor.advisor: ธานี วรภัทร์
Keywords: เด็ก -- สถานภาพทางกฎหมาย -- ไทย;เด็ก -- การคุ้มครอง;การผสมเทียมมนุษย์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ;เทคโนโลยีการเจริญพันธุ์มนุษย์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: เนื่องจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ในการบำบัดรักษา ภาวะการมีบุตรยากสามารถช่วยให้ผู้ที่มีภาวะการมีบุตรยากมีบุตรได้โดยการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ อันมีผลทำให้บทบัญญัติของกฎหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในเรื่อง เกี่ยวกับความเป็นบิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมายของเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการ เจริญพันธุ์ทางการแพทย์นั้นไม่สอดคล้องกับความสัมพันธ์ในทางพันธุกรรม และสิทธิของเด็กที่เกิด โดยอาศัยเทคโนโลยีดังกล่าวยังมีความคลุมเครือไม่ชัดเจน และไม่สอดคล้องกับสิทธิขั้นพื้นฐาน ของมนุษย์พึงมี ดังนั้น เพื่อให้เด็กที่เกิดตามเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันทางการแพทย์มีสิทธิที่ไม่ คลุมเครือเสมือนกับเด็กที่เกิดโดยธรรมชาติ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัย เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ยังมีช่องว่างทางกฎหมายอยู่มาก ในเรื่อง การตรวจสอบสัญญาตั้งครรภ์แทน จากการค้นคว้าและศึกษาฉบับนี้ ผู้เขียนจึงมีข้อเสนอแนะให้แก้ไขและเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 โดยขอให้ศาลมีอำนาจและตรวจสอบสัญญาก่อนที่จะมีการดำเนินกระบวนการตั้งครรภ์แทน ขอให้ มีชื่อหญิงตั้งครรภ์แทนอยู่ในสูติบัตรของเด็ก และขอให้ศาลแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในการติดตามดูแลชีวิต เด็กที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทนหลังคลอดเพื่อประเมินถึงสภาพจิตใจของเด็กโดยคำนึงถึงความผาสุก ของเด็กเป็นสาคัญ
metadata.dc.description.other-abstract: With the progress in science and medical technology, individuals facing infertility can now be assisted in conceiving children through the use of medically assisted reproductive technology. Consequently, the existing legal provisions concerning the parentage of children born via these methods are inconsistent with genetic relationships. The rights of children born through such technology remain ambiguous and do not align with the fundamental rights that all humans should be entitled to. In addition, The Medically Assisted Reproductive Technology Act, B.E. 2558, remains fraught with legal gaps, particularly in its provisions for the assessment of surrogacy contracts. Based on this research, the researcher recommends amending and augmenting The Medically Assisted Reproductive Technology Act, B.E. 2558. This can be achieved by advocating for the court to hold the authority to scrutinize contracts prior to commencing the surrogacy process. In addition, there should be an inclusion of the surrogate’s name on the child’s birth certificate. Additionally, the court should appoint officials tasked with overseeing the well-being of children born through surrogacy post-birth, with a primary focus on the child’s mental state and overall welfare.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566
metadata.dc.description.degree-name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: นิติศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2726
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:Law-Law-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUPAPHIT INGKACHOTIVANICH.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.