Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSita Thaworanunta-
dc.contributor.authorNaluemol Sriprasert-
dc.contributor.authorChutimon Nanarong-
dc.contributor.authorThananya Momin-
dc.contributor.authorThanpitcha Krisanawong-
dc.contributor.authorPichsinee Dittaratchaphong-
dc.date.accessioned2025-04-04T03:07:47Z-
dc.date.available2025-04-04T03:07:47Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2748-
dc.description.abstractรายงานการวิจัยเรื่องผลของสารแช่ฟันเทียมและสารสี่ชนิดต่อความขรุขระของพื้นผิว เรซินอะคริลิกที่บ่มด้วยความร้อนเป็นการวิจัยเชิงทดลองมุ่งศึกษาให้ทราบถึงความขรุขระของพื้นผิวเรซินอะคริลิกที่บ่มด้วยความร้อนหลังจากนําไปแช่ในน้ําส้มสายชู, กรดน้ําส้ม, โซเดียมไฮโปคลอไรด์ ที่ความเข้มข้น 0.1% และ 0.5% และสารแช่ฟันเทียมเป็นระยะเวลา 12 เดือนโดยงานวิจัยนี้เป็นการ รวบรวมข้อมูลจากการนําชิ้นทดสอบเรซินอะคริลิคที่บ่มด้วยความร้อนรูปร่างทรงกระบอกมาแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 12 ชิ้น ตามสารที่นําไปแช่ตาม ตามที่ได้กล่าวไปในข้างต้น รวมทั้งสิ้น 72 ชิ้น ซึ่งชิ้นทดสอบ ในแต่ละกลุ่มจะแช่ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสในสารดังกล่าวเป็น 10 นาทีต่อครั้ง วันละ 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 72 วัน เทียบเท่ากับ 12 เดือนของการใช้งานของฟันเทียมจริง หลังจากนั้นทดสอบหาค่าความขรุขระพื้นผิวของชิ้นทดสอบด้วยเครื่องวัดความหยาบพื้นผิวแบบไม่สัมผัส (รุ่น InfiniteFocus SL, Alicona, Austria) ก่อนแช่ และหลังแช่ 12 เดือน เพื่อดูว่าความขรุขระของพื้นผิวของเรซินอะคริลิก ที่บ่มด้วยความร้อนว่าก่อนแช่และหลังแช่มีความแตกต่างกันหรือไม่ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติความแปร ปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ํา (One way repeated measures ANOVA) และวิธีการดูกี (Post hoc test; LSD and Turkey's HSD test) โดยพบว่าหลังแช่ไป 12 เดือน ความขระขรุของพื้นผิวใน 0.1 และ 0.5% โซเดียมไฮโปคลอไรด์ มีความแตกต่างอย่างมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ในขณะที่น้ําส้มสายชู 100% และกรดอะซิติค 5% ไม่แตกต่างอย่างมีนัยยะสําคัญจากสารแช่ฟันเทียมเชิงพานิช (Polident®) ดังนั้นจึงสามารถเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งสําหรับแช่ทําความสะอาดฟันเทียมได้en_US
dc.description.sponsorshipResearch Institute of Rangsit Universityen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherResearch Institute of Rangsit Universityen_US
dc.subjectAcetic aciden_US
dc.subjectDenture Cleansersen_US
dc.subjectSurface roughnessen_US
dc.subjectProsthodonticsen_US
dc.titleThe effect of a commercial denture cleansing solution and four different solutions on surface roughness of heat cured acrylic resinen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ผลของสารแช่ฟันเทียมและสารสี่ชนิดต่อความขรุขระของพื้นผิวเรซินอะคริลิกที่บ่มด้วยความร้อนen_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractThis research is an experimental study to compare the surface roughness of heat- cured acrylic resin after soaking commercial denture solution and 4 solutions; 0.1% and 0.5% sodium hypochlorite, vinegar and acetic acid and tap water to be a negative control. There are 6 groups for this experiment. 12 specimens for each group in 25 degree Celsius soaking in all solutions for 10 minutes in each cycle. 365 cycles are equivalent to 12 months. The surface roughness will be recorded at pre-immersion and post-immersion by surface roughness tester (InfiniteFocus SL, Alicona, Austria). The statistically analysis used in this study are one-way repeated measures ANOVA and Post hoc test (LSD and Turkey's HSD test). After immersed 12 months in 0.1% and 0.5% sodium hypochlorite, the surface roughness showed significantly different results from the other groups. The 100% clear vinegar and 5% acetic acid showed little difference from Polident®, therefore these two can be used as alternatives for denture cleansing solutions.en_US
Appears in Collections:Den-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SITA THAWORANUNTA.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.