Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรดา สุคนธ์พันธุ์-
dc.contributor.authorรัชกฤช ปัทมโสภาสกุล-
dc.date.accessioned2025-04-11T07:40:39Z-
dc.date.available2025-04-11T07:40:39Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/2753-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (เภสัชศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2566en_US
dc.description.abstractสาหร่ายผมนางเป็นสาหร่ายสีแดงที่มีสารสำคัญ คือ ซัลเฟตพอลิแซ็กคาไรด์ มีฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ และต้านเชื้อแบคทีเรีย งานวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของวิธีการสกัด ต่อปริมาณซัลเฟตพอลิแซ็กคาไรด์ และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสาหร่ายผมนาง โดยเริ่มจาก การหาตัวทำละลายที่เหมาะสมโดยเปรียบเทียบสารสกัดที่สกัดด้วยวิธีให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสโดยใช้น้ำ และเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 20 และ 80 ผลการศึกษาพบว่า การสกัด ด้วยน้ำเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ได้ร้อยละผลผลิต ปริมาณซัลเฟต ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ ต้านแบคทีเรียดีที่สุด ดังนั้นจึงเลือกใช้น้ำ เป็นตัวทำละลายเพื่อพัฒนาการสกัดสาหร่ายผมนางต่อด้วย วิธีการใช้ไมโครเวฟ และคลื่นเสียงความถี่สูง โดยใช้การออกแบบการทดลองแบบบ๊อกซ์-เบห์นเกน ผลการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการสกัดด้วยไมโครเวฟ ที่ส่งผลให้ร้อยละ ผลผลิตและปริมาณซัลเฟตสูงที่สุด คือ เวลา 30 วินาที อัตราส่วนตัวทำละลายต่อสาหร่ายผมนาง 9.5:1 มิลลิลิตรต่อกรัม และกำลังไมโครเวฟ 450 วัตต์ ส่วนสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการสกัด ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง คือ เวลา 32 นาที อัตราส่วนตัวทำละลายต่อสาหร่ายผมนาง 15:1 มิลลิลิตร ต่อกรัม และกำลังของคลื่นความถี่สูงระดับ 3 เมื่อเปรียบเทียบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ด้วย วิธีการแพร่ผ่านวุ้นของสารสกัดที่สกัดด้วยสภาวะที่เหมาะสมที่สุดของวิธีการสกัดทั้งสามวิธี พบว่า สารสกัดที่สกัดด้วยวิธีการให้ความร้อนที่ 50 องศาเซลเซียสเท่านั้น ที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชื้อสแตฟฟี โลค็อกคัส ออเรียส และสแตฟฟี โลค็อกคัส อีพิเดอร์มิดิสได้อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าวิธีการสกัดที่เหมาะสมที่สุด คือ การสกัดด้วยน้ำเป็นเวลา 2 ชั่วโมง โดยการ ให้ความร้อนที่ 50 องศาเซลเซียสen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectสาหร่ายผมนาง -- ฤทธิ์ทางชีวภาพen_US
dc.subjectซัลเฟตพอลิแซ็กคาไรด์en_US
dc.subjectสาหร่ายสีแดงen_US
dc.titleผลของวิธีการสกัดต่อปริมาณซัลเฟตพอลิแซ็กคาไรด์และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสาหร่ายผมนางen_US
dc.title.alternativeEffect of extraction methods on sulfated polysaccharides content and biological activities of Gracilaria Fisheri Extractsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractGracilaria fisheri is a red seaweed which composed of sulfated polysaccharides as the active compound. It exhibits antioxidant and antibacterial activities. The study aims to investigate the effects of extraction methods on the quantity of sulfated polysaccharides and the biological activities of the extracted seaweed compounds. Initially, various solvents were compared, including water and ethanol at concentrations of 20% and 80%, for extraction using heating process at 50 °C for 2 hours. The results showed that water extraction yielded the highest yield percentage of sulfated polysaccharides and exhibited the best antioxidant and antibacterial properties. Therefore, water was chosen as the solvent for further development of extraction using microwave-assisted extraction and ultrasound-assisted extraction, employing the Box-Behnken experimental design. Optimal conditions for microwave-assisted extraction, maximizing both extraction yield and sulfate content, were found to be 30 seconds at a solvent-to-seaweed ratio of 9.5:1 mL/g and a microwave power of 450 watts. For ultrasound-assisted extraction, the optimal conditions were 32 minutes at a solvent-to-seaweed ratio of 15:1 mL/g and an ultrasound power level of 3. Statistical analysis revealed that only water extraction at 50 °C significantly inhibited the growth of Staphylococcus aureus and Staphylococcus epidermidis. Thus, it can be concluded that the most suitable extraction method is water extraction for 2 hours at 50 °Cen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineเภสัชศาสตร์en_US
Appears in Collections:Pha-Pharmacy-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RATCHAKRICH PATTHAMASOPASAKUL.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.