Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิภา กิมสูงเนิน, รัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ เชื่อมทอง-
dc.date.accessioned2022-01-14T08:30:36Z-
dc.date.available2022-01-14T08:30:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/297-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษากลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลสะสมในเลือด จำนวน 20 ราย ใช้โปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ ระยะเวลา16 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดย แบบสอบถามพฤติกรรมในการดูแลตนเอง ได้แก่การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การดูแลเท้า การรับประทานยา การมาตรวจตามนัด และระดับน้ำตาลสะสมในเลือด ผลพบว่า พฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลสะสมในเลือดหลังได้รับโปรแกรมฯดีกว่าก่อนได้รับ โปรแกรมฯ ข้อเสนอแนะ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพื่อปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 -- ผู้ป่วย -- การดูแลen_US
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน -- การดูแลตนเองen_US
dc.subjectระดับน้ำตาลในเลือดen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับนํ้าตาลสะสมในเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่en_US
dc.title.alternativeThe effects of educative supportive program on self care behaviors and hba1c in persons newly diagnosed with type 2 diabetesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis quasi - experimental research the one group pre – posttest design was aimed to study the effects of educative supportive program on self care behaviors and HbA1c. A purposive sample of 20 in persons newly diagnosed with type 2 diabetes for study. The program educative supportive nursing system in 16 weeks. Tools used for data collection include Self-care behavior questionnaire of diabetic patients consists of eating, exercise prevention of complications, foot care, medication, appointment examination and HbA1c were collected before and after the program. After 16 weeks, outcome self care behaviors increased significantly and HbA1c decrease significantly. Suggestion: The results of this study provide a guideline of nursing practice in diabetics patients to adjust then self care behavior, to control their HbA1c and to prevent complication of diabetics.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharin Cheumthong.pdf28.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.