Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.authorศุภานัน ก้อนจันทร์-
dc.date.accessioned2022-01-14T08:35:22Z-
dc.date.available2022-01-14T08:35:22Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/299-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Randomized Controlled Trial) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการความปวดและการฟื้นฟูสภาพต่อความปวด ความสามารถ ในการเคลื่อนไหวข้อเข่า ความสามารถในการเดิน และความพึงพอใจต่อการจัดการความปวดของ ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มควบคุม 22 คน ได้รับการดูแลตาม มาตรฐานปกติ และกลุ่มทดลอง 22 คน ได้รับโปรแกรมการจัดการความปวดและการฟืนนฟูสภาพ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย/การรักษา แบบบันทึกคะแนนความปวด ความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อเข่า ความสามารถในการเดิน และ แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการความปวด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา Fisher’s Exact test และ Mann-Whitney U test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลอง มีคะแนนความปวดหลังผ่าตัดน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อเข่าในวันที่ 3 หลังผ่าตัดของสองกลุ่มไม่ แตกต่างกัน กลุ่มทดลองมีความสามารถในการเดินดีกว่า และมีความพึงพอใจต่อการจัดการความปวด มากกว่ากลุ่มควบควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาเสนอแนะให้มีการประยุกต์ใช้โปรแกรมการจัดการความปวดและการฟื้นฟูสภาพในการดูแลผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากความปวดและส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectข้อเข่าเทียม -- การรักษา -- วิจัยen_US
dc.subjectการดูแลภายหลังศัลยกรรมen_US
dc.subjectข้อเข่าเทียม -- การฟื้นฟูสมรรถภาพen_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการความปวดและการฟื้นฟูสภาพในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of pain management and rehabilitation program among patients receiving total knee arthroplastyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis experimental research aimed to study the effectiveness of Pain Management and Rehabilitation Program on pain, ability of knee joint movement, ability to walk, and satisfaction on pain management among patients receiving total knee arthroplasty (TKA). Sample were random assigned to control and experiment groups, 22 patients for each group. The control group received standard care, while the experiment group received the program. Data were collected by recording forms for personal data, illness and treatment related data, pain score, ability of knee joint movement, and ability to walk; and an assessment form of satisfaction on pain management. Descriptive statistics, Fisher’s Exact test, and Mann-Whitney U test were used for data analysis. Research results revealed that, the experiment group had significantly lower pain scores, compared to the control group. The ability of knee joint movement on the 3rd day post-surgery of the two groups was not different. The experiment group had significantly higher ability to walk and higher scores of satisfaction on pain management than those of the control group. The research findings suggest the application of the Pain Management and Rehabilitation Program in caring for patients undergoing TKA to relieve pain and promote post-operative rehabilitation.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supanan Konchan.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.