Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิภา กิมสูงเนิน, รัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.authorอาณัติ วรรณะ-
dc.date.accessioned2022-01-14T08:42:12Z-
dc.date.available2022-01-14T08:42:12Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/301-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง การจัดการเพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และการจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนโรคหลอด เลือดสมอง 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง กับการจัดการ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สัญญาณเตือนโรคหลอด เลือดสมอง กับการจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หลอดเลือดสมอง สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวน 398 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การจัดการเพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และการรับรู้สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง อยู่ในระดับมาก และการจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่าการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองมีความสัมพันธ์ กับการจัดการเพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (r = 0.383, p < .001) และการรับรู้สัญญาณ เตือนโรคหลอดเลือดสมองมีความสัมพันธ์กับการจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.224, p < .001) ข้อเสนอแนะ การให้ข้อมูลสุขภาพเกี่ยวกับสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง และ การจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หลอดเลือดสมองen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง -- การป้องกันen_US
dc.subjectหลอดเลือดสมอง -- โรค -- การวินิจฉัยen_US
dc.subjectโรคหลอดเลือสมอง -- การป้องกันและควบคุมen_US
dc.titleการรับรู้และการจัดการเมื่อมีสัญญาณเตือนในผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.title.alternativePerceptions and management of warning signs among persons at risk of strokeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractcorrelational descriptive research aimed to study 1) perception of stroke risk factors, perception of stroke warning signs, stroke prevention management, stroke warning signs management, 2) relationships between the perception of stroke risk factor and stroke prevention management, and 3) relationships between the perception of stroke warning signs and stroke warning signs management among persons at risk of stroke. Sample was 398 persons at risk of stroke, recruited by using multi-stage sampling. The data were collected using questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics and Spearman rank correlation coefficient. The study finding showed that sample’s perception of stroke risk factors, stroke prevention management, and perception of stroke warning signs were at high levels, while stroke warning signs management was at a moderate level. Correlation analysis found that perception of stroke risk factors is related to stroke prevention management (r = 0.383, p < .001) and perception of stroke warning signs is related to stroke warning signs management with a statistical significance (r = 0.224, p < .001). The research result suggests that the health information regarding stroke warning signs and stroke warning signs management is necessary for persons at risk of stroke.en_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arnat Wanna.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.