Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สว่าง-
dc.contributor.authorรัชนก พัฒนะกุลกำจร-
dc.date.accessioned2022-01-19T04:53:49Z-
dc.date.available2022-01-19T04:53:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/339-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยกลุ่มอ้างอิง ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านกาแฟ Non Franchise ในรูปแบบคาเฟ่ของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี โดยประชากรที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งเคยใช้บริการหรือกำลังใช้บริการร้านกาแฟ Non Franchise ในรูปแบบคาเฟ่ โดยเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ทำการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน ด้วย t-Test, F-test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 25 – 35 ปี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี สถานภาพโสด และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 25,001 - 35,000 บาท โดยปัจจัยด้านกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านกาแฟ Non Franchise ในรูปแบบคาเฟ่ของผู้บริโภคจังหวัดนนทบุรี มากที่สุด คือ ด้านการโฆษณา (β = 0.286) รองลงมา คือ ด้านการส่งเสริมการขาย (β = 0.218) ด้านการตลาดทางตรง (β = 0.129) และน้อยที่สุด คือ ด้านการขายโดยบุคคล (β = 0.119) ตามลำดับ มีอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 32.70 (R2 = 0.327) ด้านปัจจัยกลุ่มอ้างอิง ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านกาแฟ Non Franchise ในรูปแบบคาเฟ่ของผู้บริโภคจังหวัดนนทบุรีมากที่สุด คือ กลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ต (β = 0.299) รองลงมา คือ กลุ่มผู้ทรงอิทธิพล (β = 0.267) และน้อยที่สุดคือ กลุ่มเพื่อน (β = 0.131) ตามลำดับ โดยมีอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 34.70 (R2 = 0.347)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสื่อสารการตลาดen_US
dc.subjectร้านกาแฟ -- นนทบุรี -- วิจัยen_US
dc.subjectกลยุทธ์การสื่อสารen_US
dc.titleกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และกลุ่มอ้างอิง ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านกาแฟ Non Franchise ในรูปแบบคาเฟ่ของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรีen_US
dc.title.alternativeIntegrated marketing communications and the reference group influencing consumer decision of Non-Franchise coffee cafe in Nonthaburi Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to study the influence of demographic factors, integrated marketing communications and the reference group influencing consumer decision of non-franchise coffee café in Nonthaburi Area. This study employed questionnaires to collect data from 400 samples residing in Nonthaburi and aged over 15 years old. These samples were selected using the convenience sampling method. The descriptive statistics used in the analysis of the data included frequency, percentage, mean, standard deviation as well as the inferential statistics consisting of T-test, F-test (One-Way ANOVA), and multiple regression analysis (MRA). According to the survey results, most respondents were female, aged between 25 – 30 years, working as a private company employee, holding a bachelor’s degree, single and having average monthly incomes of 25,001 to 35,000 baht. The factor that mostly affected the consumer decision of non-franchise coffee café in Nonthaburi area regarding integrated marketing communications was advertising (β = 0.286), followed by promotion (β = 0.218), direct marketing (β = 0.129), and personal selling (β = 0.119) respectively. The percentage of the power of prediction was at 32.70 (R2 = 0.327). Furthermore, the factor that mostly affected the consumer decision of non-franchise coffee café in Nonthaburi area regarding the reference group was internet user groups (β = 0.299), followed by influencer groups (β = 0.267), and friend groups (β = 0.131) respectively. The percentage of the power of prediction was at 34.70 (R2 = 0.347)en_US
dc.description.degree-nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineบริหารธุรกิจen_US
Appears in Collections:BA-BA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratchanok Pattanakulkamjorn.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.