Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิภา กิมสูงเนิน-
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ ทองขาว-
dc.date.accessioned2022-01-19T08:18:42Z-
dc.date.available2022-01-19T08:18:42Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/342-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ วัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่มารับบริการ ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลราชวิถี เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ตามแนวคิดของโอเร็ม เป็นเวลา 12 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และเครื่องวัดความดันโลหิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independent t- test และ pair t- test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง สูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ระดับความดันโลหิตขณะหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว และขณะหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวลดต่ำกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .001 ตามลำดับ ผลการศึกษาครั้งนี้ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น เพื่อปรับพฤติกรรมตนเองและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วยความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectความดันโลหิตสูง -- การดูแลen_US
dc.subjectพฤติกรรมการดูแลตนเองen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ วัยผู้ใหญ่ตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEffects of educative – supportive program on self-care behaviors and blood pressure levels among young adult patients with uncontrolled hypertensionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis quasi experimental research, the two-group pretest-posttest design, aimed to study the effect of Educative-Supportive Nursing Program among young adult patients with uncontrolled hypertension. The purposive samples were 60 patients with uncontrolled hypertension in young adults who received treatment at Outpatient Medicine Department. They were randomly assigned to the experimental group (30 persons) and control group (30 persons). The experimental group received Educative-Supportive Nursing Program, which was developed based on Orem’s theory. The control group received usual nursing care. The research instruments were self-care behavior questionnaires and blood pressures. The data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test and paired t-test. The finding indicated that after intervention the experimental group had significantly higher self-care behavior than before receiving the program and higher than control group (p < .001). The blood pressures level in the experimental group had significantly lower than before receiving the program (p < .05) and lower than control group (p < .001). The results of this study provide a guideline of nursing practice in caring for young adult patients with uncontrolled hypertension to improve self-care behaviors, to control them blood pressure levels, and to prevent complication of hypertensionen_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supalak Thongkao.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.