Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/344
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | น้ำอ้อย ภักดีวงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | วารินทร์ บินโฮเซ็น | - |
dc.contributor.author | กันร์ติชา เขียดน้อย | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-19T08:31:17Z | - |
dc.date.available | 2022-01-19T08:31:17Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/344 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการเตรียมลำไส้ใหญ่ โดยการประเมินความรู้ พฤติกรรมการเตรียมและความสะอาดของลำไส้ใหญ่ในผู้ที่เข้ารับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ ใช้ Donabedian (2005) เป็นกรอบแนวคิดของการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ แผนกผู้ป่ วยนอกซึ่งนัดหมายล่วงหน้า จำนวน 94 ราย และได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตรวจลำไส้ใหญ่จากพยาบาล โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้ แบบสอบถามพฤติกรรมการเตรียมตรวจลำไส้ใหญ่ และแบบบันทึกความสะอาดของลำไส้ใหญ่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย One sample t-test และ chi-square ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้และพฤติกรรมการเตรียมอยู่ในระดับสูงและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p<.01 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ประเมินความสะอาดของลำไส้ใหญ่เป็นมีตะกอนเล็กน้อยและเป็นน้ำใส ซึ่งไม่แตกต่างจากการประเมินของแพทย์ผู้ส่องกล้อง (p=.386) ผลการวิจัยสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่ดี อย่างไรก็ตามมีกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 25 ต้องได้รับการสวนและหรือยาระบายเพิ่มเติมก่อนการตรวจ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาเพื่อค้นหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุในผู้ป่วยกลุ่มนี้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ลำไส้ใหญ่ -- การส่องตรวจด้วยกล้อง -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ลำไส้ใหญ่ -- การตรวจ | en_US |
dc.subject | ลำไส้ใหญ่ -- การรักษา | en_US |
dc.title | ความรู้ พฤติกรรมการเตรียม และความสะอาดของลำไส้ใหญ่ในผู้ที่เข้ารับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ | en_US |
dc.title.alternative | Knowledge, bowel preparation and bowel cleansing of persons undergoing colonoscopy | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objective of this descriptive research was to examine the outcomes of a bowel preparation by assessing knowledge, behavior and cleanliness of the colon in subjects undergoing colonoscopy. The Donabedian (2005) was used as a research framework. The purposive samples were 94 persons undergoing colonoscopy, prepared at Out Patient Department of one tertiary hospital. Data were collected using personal data information sheet, knowledge test and questionnaires concerning behaviors and bowel cleanliness. Descriptive statistics, One sample t-test and chi-square were used to analyze the data. The findings showed that most of the sample had a high level of knowledge and behavior which was significantly higher than standard criteria at 80% (p<.01). Most of the participants evaluated bowel cleanliness as watery stool, which did not differ from the physician’s evaluation (p=.386). The results confirmed the quality of outcomes. However, approximately 25 percent needed additional enema and/or PEG. Factors related to bowel preparation of this group should be explored. | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanticha Khiadnoi.pdf | 2.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.