Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษณ์ ทองเลิศ-
dc.contributor.authorเสมา ธนาบริบูรณ์-
dc.date.accessioned2022-01-20T05:40:14Z-
dc.date.available2022-01-20T05:40:14Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/359-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจถึงเนื้อหาและการสื่อความหมายของภาพสตรีทอาร์ต เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าของกรุงเทพมหานคร และเพื่อให้เข้าใจถึงการสะท้อน ภาพอัตลักษณ์ของนักท่องเที่ยวผ่านภาพ สตรีทอาร์ต โดยการโพสท์ผ่าน Instagram แนวคิดและ ทฤษฎีที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยแนวคิดสตรีทอาร์ตและศิลปะเพื่อ สังคม แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารด้วยภาพ แนวคิดแบบจำลองการสื่อสารของ Jakobson และการ วิเคราะห์ภาพ แนวคิดเรื่องอัตลักษณ์ แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และแนวคิดสื่อใหม่ การวิจัย นี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ตัวบทงาน 2 ประเภท ได้แก่ ภาพสตรีทอาร์ตในเขต เมืองเก่ากรุงเทพมหานคร จำนวน 15 ภาพ และ ภาพบุคคลของนักท่องเที่ยวที่ถ่ายคู่กับภาพสตรีท อาร์ตทีได้รับการเผยแพร่ข้อความเพื่อสื่ออัตลักษณ์ของบุคคลผ่านสื่อ Instagram ทั้งนี้ผลการวิจัยได้ นำเสนอตามประเด็นปัญหานำวิจัยดังนี้ เนื้อหาของภาพเขียนสตรีทอาร์ตบริเวณย่านเมืองเก่าของ กรุงเทพมหานคร สามารถจำแนกได้ 4 ประเภท ภาพที่ล้อเลียนความรุนแรงทางสังคม ภาพที่แสดง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภาพสัตว์สัญลักษณ์ช้าง และ ภาพแฟนตาซีปรากฏการณ์ถ่ายภาพ สตรีทอาร์ต มี 3 ลักษณะได้แก่ การถ่ายภาพที่บุคคลแสดงปฏิสัมพันธ์ร่วมกับสิ่งของที่นำมาจัด เทียบเคียงคู่กับภาพเขียน การถ่ายภาพบุคคลที่เน้นการจับจังหวะหยุดการเคลื่อนไหว และ การ ถ่ายภาพแนวหุ่นนิ่งคู่กับภาพเขียน การแบ่งปันภาพสตรีทอาร์ตสู่สังคมออนไลน์ มีลักษณะสำคัญ 4 ประการได้แก่ การแบ่งปันข้อมูลที่มีความชัดเจนในการระบุตำแหน่งที่ตั้ง การแบ่งปันเนื้อหา สารสนเทศที่มีรายละเอียดข้อมูลเพียงพอ การแบ่งปันภาพที่มีศักยภาพในการสื่อความที่สวยงาม และการระบุตัวตนของผู้เผยแพร่ทำให้สื่อมีความน่าเชื่อถือ การเขียนคำบรรยายภาพ (Caption) ของ นักท่องเที่ยวกับภาพสตรีทอาร์ต สะท้อนอัตลักษณ์ได้ 2 รูปแบบได้แก่ อัตลักษณ์รูปแบบการใช้ชีวิต (การใช้ชีวิตแบบนักท่องเที่ยว) และ อัตลักษณ์ทางบุคลิกภาพ ประกอบด้วย การแสดงมุมมองต่อ ความรัก และการแสดงอารมณ์ขันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectการท่องเที่ยว -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.titleสตรีท อาร์ต เพื่อการสื่อสารการท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าในเขตกรุงเทพมหานครผ่านสื่อใหม่en_US
dc.title.alternativeStreet art for tourism communication in Bangkok’s old town through new mediaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to comprehend the meaning and content of street art in Bangkok’s old town and for the promotion of tourism in the area and to investigate the identity of tourists through street art posted on their Instagram. The research applied a number of theories including street art and social art, visual signification, Jakobson’s communication model, visual analysis, theories of identity, creative business, and new media. The research emphasized an analysis of two groups of data: 15 street art photos and photos of tourists appearing together with the street art with captions reflecting their personal identity on Instagram. The result revealed that street art presented 4 images: social satire, cultural diversity, elephants, and fantasy. Street art was found to be presented in three forms: a person interacting with an object appearing together with the street art, the stop motion of a person, and a still life of the person with a painting. Image sharing on online media was characterized by four elements: sharing of a specific location, sharing of sufficient information and details, sharing of potential images with beautiful meanings, and personal identification of the owner of the shared image that contributed to the reliability of the image. Finally, captions of the photos of tourists with street art revealed two images: identity of tourists’ lifestyle and personal identity including tourists’ perspectives towards love and a sense of humoren_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saema Tanaboriboon.pdf8.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.