Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรพงษ์ วงศ์ธีระธรณ์-
dc.contributor.authorปุณยิกา ขจิตระบิน-
dc.date.accessioned2022-01-20T05:54:17Z-
dc.date.available2022-01-20T05:54:17Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/362-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์การสื่อความหมายค่านิยมทางสังคมของหญิงรัก หญิง 2) เพื่อศึกษา กลวิธีการนำเสนอในละครโทรทัศน์ คลับ ฟรายเดย์ เดอะ ซีรีย์ เป็นงานวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาตัวบท (Text) คือ ละครโทรทัศน์ คลับ ฟรายเดย์ เดอะซีรีย์ จำนวน 13 ตอน ได้แก่ 1) CLUB FRIDAY THE SERIES 3 ตอน รักเธอ รักเขา และ รักของเรา จำนวน 4 ตอน 2) CLUB FRIDAY THE SERIES 7 เหตุเกิดจากความรัก ตอน รักออนไลน์ จำนวน 4 ตอน และ 3) CLUB FRIDAY THE SERIES 8 รักแท้มีจริงหรือไม่จริง ตอน รักแท้หรือแค่ ความหวัง จำนวน 5 ตอน ซึ่งเป็ นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2560 ผลการวิจัยพบว่า การสื่อความหมายค่านิยมทางสังคมของหญิงรักหญิงมี 6 ประเด็นดังนี้ 1) ความ รักที่ไม่สมหวังของหญิงรักหญิง 2) ค่านิยมของสังคมไทยที่มีต่อหญิงรักหญิง 3) การแสดงออก และ การดำเนินชีวิตแบบคู่รักของหญิงรักหญิง 4) อัตลักษณ์ทางเพศของหญิงรักหญิง 5) การใช้อำนาจ ควบคุมความสัมพันธ์ของคู่รักหญิงรักหญิง 6) ความปรารถนาทางเพศของหญิงรักหญิง สำหรับ กลวิธีการนำเสนอในละคร โทรทัศน์ คลับ ฟรายเดย์ เดอะ ซีรีย์ มี 5 ประเด็น ดังนี้ 1) เทคนิคเชิงภาพ 2) เทคนิคด้านเสียง 3) กลวิธีการเล่าเรื่องของละครโทรทัศน์ 4) การใช้ทฤษฎีสี และ 5) การสร้าง สัญญะความเป็นคู่ของหญิงรักหญิงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการ -- วิจัยen_US
dc.subjectเลสเบี้ยน; วิถีทางเพศ -- ไทยen_US
dc.subjectรักร่วมเพศในภาพยนตร์en_US
dc.titleการสื่อความหมายค่านิยมทางสังคมของหญิงรักหญิง และกลวิธีการนำเสนอในละครโทรทัศน์ คลับ ฟรายเดย์ เดอะ ซีรีย์en_US
dc.title.alternativeThe social values meaning and the construction of reality towards lesbianism in Club Friday the seriesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis qualitative research aims to investigate the social values meaning and the construction of reality towards lesbianism in a Thai soap opera, “Club Friday The Series”. The samples were 13 episodes of “Club Friday The Series”, which were aired during 2010 – 2017, including 8 episodes selected from the series no. 3 (Rak Ther Rak Khao Lae Rak Khong Rao) and no.7 (Het Koet Chak Khwam Rak: Rak On Line) (4 episodes each), and 5 episodes selected from the series no 8 (Rak Tae Mee Jing Rue Mai Jing: Rak Tae Rue Kae Kwam Wang). Then, the data were analyzed using the contextual analysis. The results of the analysis revealed that the interpretation of the social values towards lesbianism could be divided into 6 aspects, namely: the unrequited love of the lesbians, social attitudes towards lesbianism, gender expressions of lesbians, identities of lesbians, use of power to control relationship, and lesbians’ sexual desire. Considering the presentation techniques, it was found that five techniques were used to present the social values towards lesbianism in “Club Friday The Series”: filming techniques, sound techniques, storytelling, the use of colors, and symbolismen_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์en_US
Appears in Collections:CA-FTWD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punyiga Kajitrabin.pdf3.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.