Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิทย์ รัตนานันท์-
dc.contributor.authorเมริษา จิ๋วประดิษฐกุล-
dc.date.accessioned2022-01-21T02:28:00Z-
dc.date.available2022-01-21T02:28:00Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/384-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างของวัสดุโลหะทองแดงกับดิน และเทคนิคการให้ความร้อนและการเผาไหม้ในกระบวนการของเซรามิกส์ ที่เป็นคู่ตรงข้ามกันและเป็นสิ่งที่ถูกต้องห้ามในการนามาผสมผสานกระบวนการเข้าด้วยกัน จากความแตกต่างทั้งเรื่องของวัสดุและเทคนิคนี้ เมื่อได้นามาปรับเปลี่ยนและแก้ไขจนสามารถเกิดการผสมผสานเข้าด้วยกันได้แล้วนั้น จึงทาให้เกิดการพัฒนาต่อยอด สามารถสร้างสรรค์ทาให้เกิดเป็นเครื่องประดับที่มีลวดลาย พื้นผิวที่แปลกออกไปและเกิดเป็นความสวยงาม เพื่อนาไปสู่แฟชั่นที่สามารถสร้างเอกลักษณ์และคุณลักษณะที่บ่งบอกถึงความเฉพาะของบุคคล เปรียบเสมือนสัญลักษณ์หรือคาตอบ ที่มาจากระบบกระบวนการความคิดและถูกถ่ายทอดออกมาในการออกแบบ ผลของการวิจัยได้พบว่า การทดลองผสมผสานวัสดุโลหะทองแดงกับดิน และเทคนิคการเผาไหม้ การหลอมละลายของโลหะทองแดงที่มีความแตกต่างกันนั้น เมื่อนามาเชื่อมโยงกันแล้วสามารถสร้างลวดลายและพื้นผิวโดยการเผาไหม้ที่อุณหภูมิ 900 และ 1,200 องศาเซลเซียส ทาให้เกิดชิ้นงานประเภทเครื่องประดับที่แตกต่างออกไป สามารถปรับเปลี่ยนและพัฒนาลวดลาย สีสัน ของตัววัสดุได้ สามารถปรับการนาไปใช้เป็นเครื่องประดับอาทิ เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า หรือรองเท้า ขึ้นอยู่กับการใช้งานของผู้บริโภคได้อย่างมีอิสระ และเป็นการตอบสนองการสร้างเอกลักษณ์และลักษณะ (character)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวัสดุ -- สมบัติทางความร้อนen_US
dc.subjectการออกแบบen_US
dc.subjectเครื่องประดับ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.titleการผสมผสานความแตกต่างของเทคนิค เพื่อเกิดเป็นแฟชั่นen_US
dc.title.alternativeSynthesis of contrasting technical in fashionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this research was to investigate difference between copper and clay and apply heating methods in ceramic production. Copper and clay are not suggested to be combined due to their natural difference and incompatibility. However, such incompatibility was successfully corrected and mixed together leading to the creation of decorations with strange but attractive patterns and surfaces. The product, a creative fashion, reflects the personal identity and characters as the outcome of creative ideas. The result revealed that combining copper and clay by heating copper at 900 °C and 1,200 °C could be applied to create ceramic products with different patterns and surfaces. In addition, the patterns and surfaces as well as colors of the products could be changed. This could lead to the creation of fashion accessories, e.g. clothes, bags, shoes, etc. The product with such combination could be designed upon the consumers’ desire to reflect the consumers’ identity and characters.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการออกแบบen_US
Appears in Collections:Art-AD-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Merisa Jewpraditkul.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.