Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/387
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพศาล งามจรรยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | ฐิตารีย์ ค้าคล่อง | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-21T06:10:08Z | - |
dc.date.available | 2022-01-21T06:10:08Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/387 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ. ม (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้นำเสนอสายอากาศยากิ-อูดะแถบความถี่คู่สำหรับไวไฟเราเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานในระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) บนย่านความถี) 2.45 และ 5 GHzโดยการวิเคราะห์สายอากาศด้วยโปรแกรมจำลอง 4NEC2 ซึ่งเริ่มต้นจากการออกแบบสายอากาศไดโพลแถบความถี่คู่ แล้วนำพารามิเตอร์ที่ได้ไปทำ การจำลองต่อ เพื่อพัฒนาเป็นสายอากาศยากิ-อูดะแถบความถี่คู่ ซึ่งกำหนดให้สายอากาศไดโพลแถบความถี่คู่เป็น Driven Element จากนั้นเริ่มต้นออกแบบที่ย่านความถี่ต่ำ (2.4-2.5 GHz) โดยการเพิ่ม Reflector และออกแบบที่ย่านความถี่สูง(5.15-5.85 GHz) ด้วยการเพิ่ม Director โดยการวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ที)เหมาะสม ได้แก่ ความยาว Director Ld, ความยาว Reflector Lr ระยะห่างของ Director Sd, ระยะห่างของ Reflector Sr ซึ่งงผลการจำลองค่า S11 แสดงให้เห็นว่าสายอากาศสามารถใช้งานได้บนสองความถี่ และสายอากาศมีอัตราขยายเท่ากับ 4.69 และ 7.03 dBi ที่ความถี่ 2.45 และ 5.8 GHz ตามลำดับ จากนั้นทำ การสร้างและทดสอบด้วยเครื่องวิเคราะห์โครงข่าย Rohde & Schwarz รุ่น ZVL ผลการทดสอบมีความสอดคล้องกับผลการจำลอง และทำการทดสอบการประยุกต์ใช้งานจริง ผลปรากฏว่าสายอากาศยากิ-อูดะแถบความถี่คู่ สามารถทำงานได้ดีทั้งย่านความถี่ต่ำ (2.45 GHz) และย่านความถี่สูง (5 GHz)ซึ่งสามารถใช้งาน Wi-Fi ได้ดีในกรณีผู้ใช้งานอยู่ในทิศทางที่สายอากาศชี้ไปหา ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ด้วยความเร็วสูงได้ดีในระยะรัศมี 8 เมตร เนื่องด้วยสายอากาศยากิ-อูดะแถบความถี่คู่มีคุณสมบัติชี้ทิศทางไปด้านหน้า จึงเหมาะกับการใช้งานในพื้นที่มีผู้ใช้งานอยู่เฉพาะจุด เช่นห้องพักคอนโดซึ่งมีผู้พักอาศัยจำนวน 1-2 คน และอาจพัฒนานำ ไปใช้งานสำหรับอุปกรณ์ขยายสัญญาณ (Access Point) เพื่อช่วยขยายสัญญาณ Wi-Fi เฉพาะจุดที่ต้องการได้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สายอากาศ | en_US |
dc.subject | สายอากาศไดโพล | en_US |
dc.subject | สายอากาศยากิ-อูดะ | en_US |
dc.title | สายอากาศยากิ-อูดะแถบความถี่คู่สำหรับไวไฟเราเตอร์ | en_US |
dc.title.alternative | A dual band yagi-uda antenna for wi-fi router | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research proposes a dual band Yagi-Uda antenna for Wi-Fi routers to increase the efficiency in the use of Wi-Fi at the 2.45 and 5 GHz frequency bands. The antenna was analyzed by the 4NEC2 simulator. First of all, a dual band dipole antenna was designed. Then, a dual band Yagi-Uda antenna was developed based on the designed dual band dipole antenna. By using the dual band dipole antenna as the driven element, a reflector was designed at a low frequency (2.45- 2.5 GHz), and a director was designed at a high frequency (5.15-5.85 GHz). The parameters such as director length Ld, reflector length Lr, director spacing Sd, and reflector spacing Sr, were analyzed to find out appropriate values. By simulation, the results of S11 showed that the antenna could operate at two frequency bands, and the gains of antenna were 4.69 and 7.03 dBi at a frequency of 2.45 and 5.8 GHz, respectively. The antenna was fabricated and tested by the ZVL Rohde & Schwarz network analyzer. The measured values were consistent with those of the simulation. The antenna was applied to a Wi-Fi router for practical testing. The results showed that the dual band Yagi-Uda antenna could work well in both low frequency (2.45 GHz) and high frequency (5 GHz) and could transfer data between devices at a high speed within a radius of 8 m in the direction that the antenna points to. Therefore, it was found suitable for specific areas such as a condominium room with a few residents. In addition, it could probably be developed for an access point equipment to improve the Wi-Fi signal at the specific point. | en_US |
dc.description.degree-name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ | en_US |
Appears in Collections: | Eng-ECE-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thitari Kakhong.pdf | 10.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.