Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/390
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกวิท รพีพิศาล-
dc.contributor.authorสิทธิศักดิ์ จุลเชาว์-
dc.date.accessioned2022-01-21T07:33:39Z-
dc.date.available2022-01-21T07:33:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/390-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประสิทธิภาพแอปพลิเคชัน KK Transit ทั้งในมุมมองผู้ใช้และผู้พัฒนาระบบ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพล ความตั้งใจ รับรู้ถึงประโยชน์ พฤติกรรมการใช้ 3) ความสัมพันธ์การใช้แอปพลิเคชัน KK Transit ระหว่างผู้ใช้งานแอปพลิเคชันกับพฤติกรรมการใช้บริการรถโดยสาร 4) ความแตกต่างของผู้ใช้แอปพลิเคชัน KK TRANSIT ต่อปัจจัยการประเมินคุณภาพการใช้แอปพลิเคชัน KK Transit จากผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันในการโดยสารรถขนส่งสาธารณะ KK Transit จานวน 400 คน โดยการแจกแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูล เพื่อนาผลลัพธ์ที่ได้ มาสร้างตัวแบบ (สมการ) อิทธิพลการยอมรับการใช้แอปพลิเคชัน KK Transit ของผู้ใช้บริการ ด้วยสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์พหุกลุ่มจากตัวแปรทำนาย ได้แก่ การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ทัศนคติที่มีต่อการใช้งาน และ ตัวแปรพยากรณ์ ความตั้งใจที่จะใช้งาน และ พฤติกรรมการใช้ ผลการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์พหุกลุ่ม พบว่าสมมติฐานทั้งหมด 38 สมมติฐานซึ่งมีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) อิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะใช้งานแอปพลิเคชัน KK Transit พบว่า การรับรู้ถึงประโยชน์ การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม ความคาดหวัง มีอิทธิพลต่อความตั้งใจ ยกเว้น ทัศนคติที่มีต่อการใช้งานที่ไม่สามารถพยากรณ์อิทธิพลได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) อิทธิพลต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับจากแอปพลิเคชัน KK Transit พบว่า การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน มีอิทธิพลต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานแอปพลิเคชัน KK Transit กับพฤติกรรมการใช้บริการรถโดยสาร พบว่า เพศ อายุ การศึกษา รายได้ มีระดับความสัมพันธ์กับความถี่ในการใช้บริการรถโดยสาร ยกเว้น อาชีพ ไม่มีระดับความสัมพันธ์กับความถี่ในการใช้บริการรถโดยสารอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ เพศ การศึกษา มีระดับความสัมพันธ์กับช่วงเวลาในการใช้บริการ ยกเว้น อายุ อาชีพ รายได้ ไม่มีระดับ ความสัมพันธ์กับช่วงเวลาในการใช้บริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.054) ความแตก ต่างของผู้ใช้แอปพลิเคชันต่อปัจจัยการประเมินคุณภาพการใช้ด้านความเหมาะสม พบว่า เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ มีระดับการประเมินการความเหมาะสมของการทางานของแอปพลิเคชัน KK Transit ที่แตกต่างกัน ด้านประสิทธิภาพ พบว่า อายุ อาชีพ รายได้ มีระดับการประเมินประสิทธิภาพของการทำงานของแอปพลิเคชัน KK Transit ที่แตกต่างกัน ยกเว้น เพศและการศึกษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านการใช้งาน พบว่า อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ มีระดับการใช้งานของแอปพลิเคชัน KK Transit ที่แตกต่างกัน ยกเว้น เพศ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านความน่าเชื่อถือ พบว่า เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา รายได้ มีระดับการประเมินความน่าเชื่อถือของแอปพลิเคชัน KK Transit ที่แตกต่างกัน และ พบว่าจากตัวแบบทั้ง 29 ตัวแบบของการยอมรับเทคโนโลยี ได้แก่ การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความตั้งใจที่จะใช้งาน และ พฤติกรรมการใช้ สามารถพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลได้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้น ทัศนคติที่มีต่อการใช้งานที่ไม่สามารถพยากรณ์อิทธิพลได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนวัตกรรมทางเทคโนโลยีen_US
dc.subjectการขนส่งมวลชน -- ขอนแก่นen_US
dc.subjectแอพพลิเคชั่นen_US
dc.titleการศึกษาการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันสำหรับรถโดยสารประจำทางในจังหวัดขอนแก่น : ศึกษาเฉพาะกรณี KK transiten_US
dc.title.alternativeA study of quality assessment an application for public transportation in Khon Kan Province: a case study of KK transiten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractPurposes of this research were to study : 1) performance effectiveness of KK Transit Application of both users and developers perspectives, 2) influential factors on: intention to use, perceiving benefits of the use, and use behaviors, 3) factors related to KK Transit Application users and their behaviors in using public transportation services at Khon Kan Province and 4) differences of KK Transit Application users and factors in quality assessment in using KK Transit Application from 400 KK Transit Application users. Survey questionnaire was used in collecting information; as results of the survey questionnaire, research prototypes on influential acceptance of KK Transit Application usage was constructed using Logistic Regression Analysis. Independent variables were perceived benefits of use, perceived ease of use, social influence, performance expectancy, and attitude toward the usage. Dependent variables were behavioral Intention to use KK Transit Application and use behavior. Results of 38 hypotheses, using group logistic regression analysis, coincided with the research objectives as follows : for the factor influenced behavioral intention in using KK Transit Application, it was found that perceived benefits of use, perceived ease of use, social influence, and performance expectancy (except Attitude toward the Use) had influential impact on Intention to use at significance level of 0.05; for the factor influenced perceived benefits of use KK Transit Application, It was found that perceived ease of use of the application had influential impact on perceived benefits of use the application; for factors related to KK Transit Application user and their behaviors in using public transportation services in Khon Kan Province, it was found that gender, age, education, and revenue reflexed levels of relative frequencies in using transportation services at significance level of 0.05, occupation had no level of relative frequencies. Gender and education had relative frequencies with period of using the transportation services at significance level of 0.05. Age, occupation, and revenue had no relative frequencies in using the services and For the difference of KK Transit Application users and factors in quality assessment in using KK Transit Application, it was found in the area of appropriateness that gender, age, education, occupation, and revenue had level of the assessment of KK Transit Application functions differently at significance level of 0.05. Gender and education were excluded. In the area of usage, it was found that age, education, occupation, and revenue had different levels of KK Transit Application usage at significance level of 0.05. Gender was excluded. In the area of reliability, it was found that gender, age, occupation, and revenue reflexed levels of assessment differently and 29 prototypes of acceptance of technology : perceived benefits of use, perceived ease of use, social influence, performance expectancy, behavioral intention and use behavior, can be tools to predict influential factors at significance level of 0.05. attitude toward the use was exclen_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sittisak Junchao.pdf5.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.