Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/398
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกวิท รพีพิศาล-
dc.contributor.authorกรวิศว์ ชัชวาลธนทรัพย์-
dc.date.accessioned2022-01-21T07:50:08Z-
dc.date.available2022-01-21T07:50:08Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/398-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรม M-Payment ของกลุ่มผู้ใช้งานภายในกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับนวัตกรรมจำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้ใช้ระบบ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลที่ส่งผลต่อกันในแต่ละปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรม 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับนวัตกรรมที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้งานและพฤติกรรมในการใช้ M-Payment มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่เคยใช้งานระบบชำระเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ จำนวน 390 คน โดยใช้วิธีการแจกแบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มผู้ใช้งานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 36-45 ปี อยู่ในระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 25,000 บาท และส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นพนักงานเอกชน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ก) สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข) สถิติอ้างอิง ได้แก่ ไคสแควร์และการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์จากการใช้งานที่ส่งผลอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้งาน M-Payment มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระ (B) มากที่สุดได้แก่ ปัจจัยอิทธิพลทางสังคม การรับรู้ความเสี่ยง และความเชื่อมั่น (B=26.0%, 25.6%, 22.4% ตามลำดับ) และปัจจัยความตั้งใจในการใช้งานที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้งาน M-Payment มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระได้แก่ ปัจจัยความสมัครใจใช้งาน การรับรู้ประโยชน์จากการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม การรับรู้ความง่ายจากการใช้งานและแรงจูงใจ (B=61.9%, 44.7%, 31.4%, 28.4%, 17.8% ตามลำดับ)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectนวัตกรรมทางเทคโนโลยีen_US
dc.subjectการชำระเงิน -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรม M-Payment ของกลุ่มผู้ใช้งานภายในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeFactors influencing technology acceptance on M- Payment services of users in Bangkok Metropolitan Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aims to study factors influence the acceptance of the M-Payment innovation among users in Bangkok. The objectives of this research are: 1) to compare the factors affecting the acceptance of innovation based upon user's demographic characteristics, 2) to study how each factor influences each other, and 3) to investigate how each factor influences the intentions and behaviors in the use of M-Payment. The study employed questionnaires to elicit data from 360 users. The results showed that most users were females aged 36-45. Most of them had a bachelor’s degree, and their monthly income was less than 25,000 baht. The statistics used in data analysis were descriptive statistics including percentage, mean, and standard deviation, and inferential statistics including chi-square and multiple regression analysis. The study found that the factors related to the perception of benefits which had the most regression coefficients of independent variables were social factors, risk perception, and reliability (B= B=26.0%, 25.6%, and 22.4%, respectively). In addition, the factors related to the users’ intentions in the use of M-payment which had the most regression coefficients of independent variables were users’ willingness, perception of benefits, social influence, ease of use, and motivation (B=61.9%, 44.7%, 31.4%, 28.4%, and 17.8 %, respectively)en_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Korawit Chudchawaltanasub.pdf7.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.