Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/402
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปรานม ดีรอด-
dc.date.accessioned2022-01-21T08:08:59Z-
dc.date.available2022-01-21T08:08:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/402-
dc.description.abstractรายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงค่าระดับไขมันในเลือดก่อนและหลังการ เข้าโปรแกรมการฝึกซ้อมของนักกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล และว่ายน้าในสังกัดทีมสโมสรมหาวิทยาลัย รังสิต เป็นการวิจัยกึ่งเชิงทดลอง (Quasi-Experimental Research) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับไขมัน ในเลือดของโปรแกรมก่อนและหลังการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล, วอลเลย์บอล และว่ายน้าสังกัดสโมสร มหาวิทยาลัยรังสิต รวมถึงการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักกีฬาที่มีผลต่อระดับไขมันในเลือด โดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมการบริโภค และโปรแกรมการฝึกซ้อมแต่ละชนิดกีฬา เก็บรวบรวมข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักกีฬาฟุตบอล, วอลเลย์บอล และว่ายน้า สังกัด สโมสรมหาวิทยาลัยรังสิต อายุระหว่าง 18-25 ปี จ้านวน 83 คน วิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) เปรียบเทียบค่า t - test ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬา และ เปรียบเทียบค่า One Way ANOVA ระหว่างโปรแกรมการฝึกซ้อมของแต่ละชนิดกีฬา ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบค่าทางเคมีก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมการฝึกซ้อมของ นักกีฬาค่า Cholesterol และ LDL มีความแตกต่างกันทั้งเพศชายและเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 ส่วนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร นักกีฬาส่วนใหญ่ มีความชอบรับประทานอาหารรสหวาน มากที่สุดร้อยละ 45.28 รองลงมาชอบรับประทานอาหารรสเปรี้ยวร้อยละ 26.40 สรุปผลการศึกษาแสดง ให้เห็นว่าโปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬามีความเหมาะสมทั ง 4 ชนิดกีฬา ทั้งนี้ จากข้อมูลพฤติกรรมการบริโภค อาหารส่งผลต่อระดับไขมันในเลือดของร่างกาย ซึ่งสามารถยืนยันได้จากผลการตรวจวัดระดับไขมันใน เลือด ที่พบว่ามีระดับค่า Cholesterol และ LDL เพิ่มขึ้นในกีฬาบางชนิด แต่เมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ของ National Cholesterol Education Program (NCEP, 2001) พบว่าอยู่ในเกณฑ์เหมาะสม แต่ นักกีฬาควรระมัดระวังการรับประทานอาหารเพิ่มมากขึ้น เพื่อควบคุมระดับไขมันในเลือดไม่ให้มีค่าเพิ่มขึ้น มากกว่า 200 mg/dL ดังนั้น ในการฝึกซ้อมกีฬานอกจากจะวางโปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬาให้เหมาะสมกับ ชนิดกีฬาแล้ว ต้องวางแผนด้านโภชนาการร่วมด้วย เพื่อส่งผลให้นักกีฬาที่ฝึกตามโปรแกรมของการ ฝึกซ้อมกีฬามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและแสดงศักยภาพทางด้านกีฬาได้อย่างเต็มที่ต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectระดับไขมันในเลือดen_US
dc.subjectการฝึกกีฬาen_US
dc.subjectนักกีฬา -- โภชนาการen_US
dc.subjectการบริโภคอาหาร -- พฤติกรรมen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงค่าระดับไขมันในเลือดก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมการ ฝึกซ้อมของนักกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล และว่ายน้ำ สังกัดทีมสโมสรมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.title.alternativeA study of changes in blood lipid profile before and after the training program of football, volleyball and swimming athletes of Rangsit University Cluben_US
dc.typeOtheren_US
dc.description.other-abstractResearch report a study of changes in blood lipid profile before and after the training program of football, volleyball and swimming athletes of Rangsit University Club. Purpose the purpose of this study is to determine the changes in blood lipids and eating behaviors before and after the training programs of football players, volleyball athletes, and swimmers of Rangsit University Sports Club. Methods these athletes include football players, volleyball players, and swimmers of Rangsit University Sports Club between 18-25 years old. The total number of participants is 83 people including 40 males and 18 females. The data about the athletes’ dietary habits, food consumption behavior and athlete’s training program are collected by using a questionnaire which is created by an instructor of each sport. Each athlete’s blood lipid is measured both before and after the training program over the 16 weeks period. The data analysis process includes finding the percentage mean (x̄), calculating the standard deviation (S.D.), comparing the t-test values, and performing the one way ANOVA test. Each procedure is taken for each sport type. The significant figure is set at 0.05. Results we found that the cholesterol level before and after entering the training program was not different within the group, but there are differences between groups. Also, we found that the cholesterol level and LDL level of the football players’ before the training program were higher than after the training program with statistical significance at .05. On the same hand, we found that the football players’ food consumption behavior typically include 53.10 percent fatty meat, and 43.80 percent coconut milk based food, with 1-3 meals per week frequency. Conclusion when compared to the standard set by the National Cholesterol Education Program (2001), the cholesterol level and LDL level of the football players were safely appropriate. Nutritional planning is found to affect athletes’ sports performance and efficiencyen_US
Appears in Collections:SpI-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pranom Deerod.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.