Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกร ปุญญฤทธิ์, ธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม-
dc.contributor.authorดิฐภัทร บวรชัย-
dc.date.accessioned2022-01-24T08:45:56Z-
dc.date.available2022-01-24T08:45:56Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/429-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.(อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความหมาย รูปแบบ สาเหตุ ปัญหาการทุจริตของข้าราชการตารวจ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตของข้าราชการตารวจ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับหัวหน้าสถานีตารวจ ผู้ปฏิบัติงานและผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัย พบว่า 1) ความหมายของการทุจริต หมายถึง การกระทำของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อานาจหน้าที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ คำสั่งเพื่อกระทำการหรือละเว้นการกระทำ เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การมีผลประโยชน์ทับซ้อน การกระทำที่ขัดกับหลักศีลธรรมและจริยธรรมของบุคคลสาธารณะ หรือการใช้อานาจโดยไม่มีศีลธรรม 2) สถานการณ์ปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในสถานีตารวจยังคงมีอยู่ แต่ลดลง ปัญหาที่พบมากคือเงินเดือนและค่าตอบแทนน้อย และการแต่งตั้งข้าราชการตารวจไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา ถูกแทรกแซงจากการเมือง แต่ละพื้นที่มีปัญหาแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม และแบบของผู้นำในสถานีตารวจ หากผู้นำของสถานีตารวจมาจากผู้มีอำนาจ สังคมจะได้ตารวจของผู้มีอำนาจแทนที่จะได้ตารวจของประชาชน 3) รูปแบบของการทุจริตประพฤติมิชอบเกี่ยวข้องกับอำนาจและความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบอุปถัมภ์ระหว่างผู้ให้และผู้รับการอุปถัมภ์ และความไม่โปร่งใสในการปฏิบัติงาน 4) สาเหตุของการทุจริต คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก 5) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ควรกำหนดบทลงโทษชัดเจน เพิ่มค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ แก้ไขวัฒนธรรมองค์กรที่ผิด เสริมสร้างคุณธรรมตั้งแต่เป็นนักเรียนตารวจระดับชั้นประทวนและสัญญาบัตร นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ การป้องกันประชาชนติดสินบนโดยปลูกฝังว่าการกระทำทุจริตเป็นสิ่งเลวร้าย รูปแบบการป้องกันการทุจริตควรพัฒนาจิตใจ สร้างจิตสานึกให้ปฏิบัติตามกฎหมายยึดมั่นในอุดมคติ และให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและเคารพกฎหมายแก่ประชาชนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectข้าราชการตำรวจ -- การทุจริตen_US
dc.subjectการทุจริตen_US
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบen_US
dc.titleการทุจริตของข้าราชการตำรวจen_US
dc.title.alternativePolice corruptionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research are 1) to study the definitions, patterns, causes of corruption by police officers and 2) to propose guidelines for preventing and solving the problems. In-depth interviews with chiefs of police station, non-commissioned police officers and experts are conducted to collect the data. The result shows that: 1) The definition of corruption refers to the actions of officials regarding to the use of an authority in terms of violations of laws, regulations or order, in orders to act or to neglect the actions for illegally exploiting personal interests. Having a conflict of interest and acts contrary to the morals and ethics of public figures or using power without morals are included. 2) The situation of corruption and misconduct in the police station still exists, but decreases. The most frequent problems are low salary and inadequate compensation, the promotion of a police official does not meet the deadline. and political intervention. Each area has different problems based on the economic, political, social, cultural conditions and the working method of the leader in the police station. If the chief of the police station has connections with the authorities, society will get the police that tend to serve their groups only instead of people’s police. 3) The form of corruption and misconduct involves the power and relationships associated with the patronage system between the giver and the receiver and the non-transparency in the operation. 4) The causes of corruption are internal and external factors. 5) The guidelines for preventing and solving problems are the penalties that are clearly set, increasing compensation for police officers, correcting the wrong corporate culture, strengthening morality in both non-commissioned and commissioned police officer, using modern technology to prevent the corruption, implanting that corruption is a bad thing to prevent briberies in the future. The form of fraud prevention should develop the mind, raise the awareness to comply with the law, adhere to the ideal, and provide knowledge about the law and showing respect.en_US
dc.description.degree-nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรมen_US
Appears in Collections:CJA-CJA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Acting Police Colonel Dithapart Borwornchai.pdf932.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.