Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ สุขสำราญ, เอนก เหล่าธรรมทัศน์-
dc.contributor.authorเอกพจน์ คงกระเรียน-
dc.date.accessioned2022-01-25T02:01:33Z-
dc.date.available2022-01-25T02:01:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/438-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับ การพัฒนาสังคมในอดีตก่อนปี 2530 และเปรียบเทียบบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาสังคมใน อดีตและปัจจุบันโดยศึกษากรณีพระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิริ นธโร) เก็บรวบรวมข้อมูล จากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มเป้าหมายนั่นก็คือ พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อ วิริยังค์ สิรินธโร) ในฐานะพระสงฆ์นักพัฒนาโดยเฉพาะ และกลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกยี่วข้อง กับการดำเนินการพัฒนาสังคมในบริบทที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ผลการศึกษาพบว่า จากเดิมในช่วงก่อนปี 2530 พระสงฆ์ต้อง เข้าไปมีบทบาทในกระบวนการพัฒนาสังคม สืบเนื่องจากการบริหารงานของกลไกภาครัฐที่ล้มเหลวและข้าราชการขาดประสิทธิภาพในการทำงานรวมถึงความซับซ้อนเชิงโครงสร้างอำนาจหน้าที่ อีกทั้งในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเกิดการรุกรานของลัทธิคอมมิวนิสต์ ภาครัฐจึงต้องอาศัยพลังจารีตนิยมคือสถาบันศาสนาโดยให้พระสงฆ์เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาสังคมนอกจากนี้จากการศึกษาบทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาสังคมในปัจจุบันพบวา่ โครงการพัฒนาสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคมของพระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร) ยังประโยชน์ให้เกิดแกกล่มเป้าหมายทุกระดับในสังคม ทั้งระดับเยาวชน ระดับประชาชนทั่วไปและระดับนานาชาติ ผลการเปรียบเทียบบทบาทการพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในอดีต (ก่อนปี 2530) กับ ปัจจุบัน ด้านการเมืองพบวา่ การพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในอดีต (ก่อนปี 2530) มีเรื่องการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องเนื่องจากเป็นกลไกการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนการพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในปัจจุบันมีความเป็นอิสระปราศจากเรื่องการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้านเศรษฐกิจพบว่า การพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในอดีตและ ในปัจจุบันพบว่า มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ เรื่องปากท้องของประชาชน โครงการเพื่อการพัฒนาต่างๆ มุ่งเน้นการฝึกอาชีพเพื่อสร้างงานสร้างรายได้เป็นหลักเพื่อให้ประชาชนสามารถดำรงตนอยูไ่ด้ในลักษณะครอบครัวมีสุขและให้ชุมชนเข้มแข็ง ด้านสังคมพบวา่ การพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในอดีตใช้หลักการมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือเพื่อการพัฒนาด้านสังคม เพราะการมีส่วนร่วมคือสานึกทางสังคมอย่างเป็นธรรมชาติที่สุด ส่วนการพัฒนาสังคมของพระสงฆ์ในปัจจุบันกับยิ่งคงมุ่ง เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectพระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร)en_US
dc.subjectพระสงฆ์ -- บทบาทและหน้าที่en_US
dc.subjectสงฆ์กับการพัฒนาสังคมen_US
dc.titleบทบาทพระสงฆ์ไทยกับการพัฒนาสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคมกรณี พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร)en_US
dc.title.alternativeRole of Thai sangha in the development of social enterprises: a case study of Phra Dhammongkolyarn (Luangphor Viriyang Sirintharo)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis qualitative research aims to study and compare the past (before 1987) and present roles of Thai monks (Sangha) in social development focusing on the case of Phra Dhammongkolyarn (Viriyang Sirintharo). The research methodology included documentary research and an in-depth interview with Phra Dhammongkolyarn (Viriyang Sirintharo) as a Thai monks ( Sangha) who involved in social development, and key informants involving in social development in the area of Buddhism. The researcher found that, before 1987, Thai monks (Sangha) took part in social development due to the failure of public administration and government operations, inefficient government officials, and structural complexity, aligning with the expanding influence of communism. The government consequently exercised the power of traditional mores and authority of the religious institution, having them take part in social development. In terms of the present role of Thai monks (Sangha), it was found that most of Phra Dhammongkolyarn’s public projects yielded the benefits to all targeted groups in the society including the youth, the public, and the international sphere. The result of the comparative study revealed that, in terms of politics, in the past, Thai monks (Sangha) were utilized by the government as the mechanism for social development. When compared to the current scenario, they were more independent and unimpeded by political influence. In the economic aspect, their past and present Thai monks ( Sangha) tried to reach the same objective: the improvement of the living quality and the wellbeing of people. Consequently, development projects were aimed at training skills, creating jobs, and increasing income so that the population could live their lives with sufficiency and happiness as well as make happy families and strong communities. In terms of the social aspect, Thai monks ( Sangha) in the past were found to be based on public participation as a tool for social development since it was the most natural form of social consciousness. Similarly, in the present, they still emphasized public participation as the principle of social development.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ekaphot Congkrarian.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.