Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/439
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรัณย์ ธิติลักษณ์ | - |
dc.contributor.author | ชิษณุชา นวลปาน | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T02:06:01Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T02:06:01Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/439 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการครอบงำความคิดของนักศึกษา อาชีวะ 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของนักศึกษาอาชีวะ และ 3) นำเสนอ แนวทางในการจัดการพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงในกลุ่มนักศึกษาอาชีวะ ซึ่งการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากข้อมูลพื้นฐาน บทความ แนวคิด ทฤษฎี รายงานการวิจัย และกรณีศึกษาจากงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมจากผู้ให้ข้อมูล จำนวน 33 คน ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ อดีตนักศึกษาและนักศึกษาปัจจุบันที่ผ่านและไม่ผ่านประสบการณ์การใช้ความรุนแรง คณาจารย์ ของสถาบันที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาเพื่อแสดงถึงกระบวนการครอบงำความคิดและปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของนักศึกษาอาชีวะในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการครอบงำความคิดของนักศึกษาอาชีวะมีอยู่ 3 กระบวนการ ได้แก่ 1) กระบวนการรับน้อง 2) กระบวนการถ่ายทอด ประสบการณ์ความรุนแรงจากรุนพี่สู่รุ่นน้อง และ 3) กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของ นักศึกษาอาชีวะเอง ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของนักศึกษาอาชีวะ เกิดจาก องค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ 1) องค์ประกอบภายในที่แสดงออกมาจากความรู้สึกนึกคิดภายในสภาพ บังคับของจิตใจ คือ กระบวนการครอบงำความคิด เป็นปัจจัยหลัก ที่ส่งผลโดยตรงต่อพฤติกรรมการ ใช้ความรุนแรงของนักศึกษาอาชีวะ 2) องค์ประกอบภายนอกจากสภาพแวดล้อมทั่วไป เป็นปัจจัยรอง ที่สนับสนุนพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง คือ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านสถาบัน ทั้งนี้ผู้วิจัยมีเสนอแนะแนวทางการจัดการปัญหาความรุนแรงรวม 5 มาตรการ คือ มาตรการเกลือจิ้ม เกลือ มาตรการตัดช่วงกระบวนการสืบทอดความคิด มาตรการหลอมรวมทัศนคติที่ดีของสถาบัน มาตรการเฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงและการให้คุณค่าใหม่กับบุคคล และ มาตรการสื่อสาร เชิงบวก | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ความรุนแรงในวัยรุ่น -- ไทย -- กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.subject | ความรุนแรงในโรงเรียน -- ไทย -- กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.subject | นักเรียนอาชีวศึกษา -- ปัญหาและข้อพิพาท | en_US |
dc.title | ปัญหาความรุนแรง : กระบวนการครอบงำความคิดของนักศึกษาอาชีวะในเขตกรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Violence: the hegemony process of vocational students in Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to 1) investigate the hegemony process of vocational students in Bangkok, Thailand, 2) discover factors affecting their violent behavior, and 3) propose appropriate resolutions of violent behavior. The methodology of this qualitative-based research included a review of related documents, articles, and theories, and case studies. The instruments were in-depth interviews and participant observation. Thirty-three key informants participating in this research were former students and current students performing and not performing violence and teachers from institutions the researcher focused on. The research discovered that there were three hegemony processes: 1) freshmen welcome ceremony, 2) the transfer of the experience on violent performance from present students to new coming students, and 3) students’ learning through their own experiences on violence. The factors affecting their violent behavior included 1) internal elements which included their thoughts and motivation considered to be the primary hegemony process directly leading to the performance of violent behavior and 2) external elements as the secondary process which included environments, such as factors related to society, individual, and schools. According to the findings, the research hence proposed five measures to manage their violent behavior: “An eye for an eye”, the interruption of the transfer of experience of violence, students’ infatuation with their schools’ positive attitudes, a close watch on violent behavior and the promotion of new values, and positive communication. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chitsauncha Nualpan.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.