Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/442
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ติน ปรัชญพฤทธิ์, สมบูรณ์ สุขสำราญ | - |
dc.contributor.author | วีรชาติ ภักดี | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T02:11:27Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T02:11:27Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/442 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชาติพันธุ์ล้านช้าง นำมาสู่ความเป็นท้องถิ่นนิยมตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์พลเมืองโดยให้ความสำคัญใน มิติ เชิงพื้นที่และมิติเวลา ในพื้นที่ชุมชนริมฝั่งโขงในภาคอีสานของไทย ด้วยวัฒนธรรมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) เป็นการผนวกวัฒนธรรมลาวดั้งเดิม (ล้านช้าง) กับวัฒนธรรมสยาม ซึ่งมีเงื่อนไขทางภูมิ-รัฐศาสตร์ ทาให้เกิดความผสมผสานทางวัฒนธรรม (Acculturation) โดยกระแสความเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยย่อมมีทั้งความแตกต่างและมีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน การจะทำให้เห็นอย่างชัดเจนและรอบด้าน ต้องขัดเกลาข้อเท็จจริงให้กระจ่างเพื่อจะได้นำไปสู่ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามกรอบความคิดของงานวิจัย เพื่อหารอยเชื่อมต่อแห่งประวัติศาสตร์และเพื่อเป็นแนวทางสู่การพัฒนาให้เป็นท้องถิ่นนิยมตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์พลเมือง ผลการศึกษาพบว่า การผลักดันให้ท้องถิ่นปกครองตนเอง มีส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อ การขับเคลื่อนของพลเมืองในระดับพื้นที่ การรวมกลุ่ม ชมรมหรือประชาสังคมในชุมชน ถือเป็นกองกำลังขนาดย่อมต่อการสร้างท้องถิ่นให้เข้มแข็งทั้งในด้านการก่อความรู้และก่อการปฏิบัติใน ขั้นพื้นฐานตามแนวทางปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย เพราะความเป็นท้องถิ่นนิยมอันมีปัจจัยทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยคนในท้องถิ่นเป็นผู้ร่วมสร้างคือ ต้องสร้างจากคนใน ไม่ใช่ถูกสร้างจากคนนอกหรือจากข้อกำหนดของรัฐหรือจากประวัติศาสตร์ของรัฐเท่านั้นและต้องใช้โครงสร้างของสังคมท้องถิ่นเป็นกลไกในการสร้างตัวตน ซึ่งผู้วิจัย พบว่า ในแต่ละสถานที่มีสิ่งที่สามารถบอกเล่าเรื่องราวแตกต่างกันไปจากรูปลักษณ์ภายนอกที่มองเห็น แต่การที่จะเข้าใจเรื่องราวที่ลุ่มลึกในแต่ละพื้นที่ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องลงไปสัมผัส ค้นหากับของจริง เพื่อจะได้เข้าใจในสิ่งที่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา หากเปรียบกับการจะดูเนื้อไม้หรือแก่นไม้ ก็ต้องกะเทาะเปลือกออกเสียก่อนนั่นเอง | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมไทย -- ล้านช้าง | en_US |
dc.subject | ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.title | ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมล้านช้างกับความเป็นท้องถิ่นนิยมริมฝั่งโขง ในภาคอีสาน ประเทศไทย ตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์พลเมือง | en_US |
dc.title.alternative | Historical and cultural legacies and localism of Lan Xang along Khong River in Northeastern Thailand on the basis of civic public administration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to study the historical background and ethnic culture of Lan Xang on the basis of localism according to the principle of civic administration, emphasizing the temporal and spatial dimensions of communities along Khong River in northeastern Thailand. The combination of Lao traditional and Siamese cultures with geopolitics leads to acculturation. Changes occurring all the time are sometimes different, and they are sometimes related. The data analysis and synthesis was hence conducted to discover the historical links which could lead to local development according to the approach of civic public administration. The result revealed that the local self-government of local communities could significantly contribute to civic strength in the local level resulting in the gathering of networks, clubs, and civil society following the democratic regime. Localism influenced by historical and cultural factors needed the cooperation of the locals not those outside of the community and must not be dominated by the regulations of the state or the state’s history. That is, it needed the community’s social structure as a mechanism for building the community’s identity. In addition, it was found that each place has its own stories varying upon its physical appearance. To understand them clearly, it is necessary to talk to the locals and dig for the truth through their real way of living. Such truth could be compared to the heartwood concealed by the outer bark. To see the heartwood, it is necessary to remove the outer bark | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Weerachart Pakdee.pdf | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.