Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/449
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เอนก เหล่าธรรมทัศน์ | - |
dc.contributor.author | อิงอร เนตรานนท์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T02:29:02Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T02:29:02Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/449 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ดุษฎีนิพนธ์เชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาถึงพลังอำนาจแห่งชาติซอฟท์เพาเวอร์ของไทยในศตวรรษ 21 ที่ปรากฏใช้ (Actual Powers)ในการบริหารปกครองในช่วง พุทธศักราช 2544-2560 2) เพื่อศึกษาถึงพลังอำนาจแห่งชาติซอฟท์เพาเวอร์ของไทยในศตวรรษ 21 ในช่วงพุทธศักราช 2560-2643 ว่าจะมีรูปแบบใดบ้างและ 3) เพื่อเสนอแนวคิดเรื่องพลังอำนาจแห่งชาติซอฟท์เพาเวอร์ของไทยในศตวรรษที่ 21 เครื่องมือในที่นำมาใช้เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากบุคคลและกลุ่มรวมทั้งข้อมูลจากเอกสารเชิงวิชาการ บทวิเคราะห์และงานวิจัย ผลการวิจัยพบว่าได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ทั้ง 3 ข้อ และพบว่า พลังอำนาจแห่งชาติดั้งเดิมมีศักยภาพไม่เพียงพอรับมือกับการบริหารราชการแผ่นดินยุคโลกาภิวัตน์รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงจากแบบฮาร์ดเพาเวอร์ดั้งเดิมไปสู่การใช้ซอฟท์เพาเวอร์ และพบว่าตัวบ่งชี้หรือดัชนีซอฟท์เพาเวอร์ได้แก่ สถาบันพระมหากษัตริย์ พุทธศาสนา องค์กรเชิงสถาบันและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชาวพุทธ เอกลักษณ์และวัฒนธรรมความเป็นไทย ค่านิยม นโยบายรัฐ ผลิตภัณฑ์พื้นบ้านไทย อาหารไทย ละคร/ภาพยนตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การทูต/นโยบายต่างประเทศ การแพทย์ทันสมัยและการแพทย์สมุนไพรไทย สถาบันการศึกษา กีฬาไทย กอล์ฟ มวยไทย-สากล และแบดมินตันไทย การสื่อสารเชิงยุทธศาสตร์ในรูปของการรณรงค์ ส่วนข้อเสนอแนะคือ การสร้างเสริมศักยภาพซอฟท์เพาเวอร์ของไทย สร้างปณิธานร่วมเพื่อการพัฒนาประเทศ สร้างดุลอำนาจ สร้างองค์ความรู้การวิจัยและพัฒนา สร้างทุนมนุษย์ สร้างปราชญ์ชาวบ้าน ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การปฏิบัติที่ต่อเนื่อง สืบทอดเจตนารมณ์แห่งรัฐ ปรับรูปแบบการใช้ซอฟท์เพาเวอร์ตาม การใช้เทคโนโลยี AI และ IO ที่เหมาะสม ให้ความรู้แก่ประชาสังคมทุกระดับ แต่ภาพรวมการทำงานที่เชื่อมโยงกันของพลังอานาจแห่งชาติยังไม่ชัดเจน ส่วนคำศัพท์ “ซอฟท์เพาเวอร์” ให้ใช้คำเรียกทับศัพท์ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การปกครอง -- แง่ยุทธศาสตร์ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การบริหารรัฐกิจ -- ไทย | en_US |
dc.subject | ซอฟท์เพาเวอร์ | en_US |
dc.title | พลังอำนาจแห่งชาติซอฟท์เพาเวอร์ของไทยในศตวรรษที่ 21 | en_US |
dc.title.alternative | Thai national soft power within the 21st century | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This quantitative Doctoral dissertation aims to 1) study the actual Thai National Soft Power within the 21st century existing in the Thai governance during B.E. 2544 – 2560, 2) explore the practical features of Thai National Soft Power within the 21st century during B.E. 2560 - 2643, and 3) propose the more applicable Thai National Soft Power within the 21st century conceptualized model. The methodologies applied are the focused-group and in-depth interview including academic document, journal, and related papers. The findings have met the paper’s 3 objectives. Furthermore, the presumption on the actual “Thai National Powers applied in the present governance appear inadequate for coping with the changing globalization demands is true in which the potential Thai National Soft Power within the 21st century genres in the form of hard powers tend to utilize soft powers instead. Therefore, soft power indicators are as follows: the Monarchy, Buddhism, Sufficiency Economy Philosophy, Buddhist, Thai identities and culture, values, public policies, Thai local products /One Thumbon, One Product or OTOP, Thai foods, plays and movies, natural resources, modernized Thai medical care and alternative medicine, education institutes, Thai sports, golf, boxing: Thai – international, badminton, Strategic communications: Artificial Intelligence/AI and Information Operation / IO, in the form of campaigns. However, the holistic view of the practical national power linkage appears unclear. At present, the term “Soft Power” should be used in the form of transliteration. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Avm Ing-Orn Nedtranon.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.