Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/450
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรวรัญช์ องคสิงห | - |
dc.contributor.author | ศรมณ เทพแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-25T02:31:31Z | - |
dc.date.available | 2022-01-25T02:31:31Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/450 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัย เรื่อง การสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมในวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสง จ.ศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการก่อรูป กระบวนการ องค์ประกอบการสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมและแนวทางการรวมกลุ่มของวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสง จ.ศรีสะเกษ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกในสนามจากผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ สมาชิกวิสาหกิจชุมชน ผู้นำที่เป็นผู้นาชุมชน ผู้นำกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอุ่มแสง ผู้ประกอบการจำหน่ายข้าว และเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่า วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสง จ.ศรีสะเกษ ก่อรูปจากการประสบความยากลำบากในการประกอบอาชีพทำนาซึ่งจัดให้อยู่ในอุตสาหรรมการทำนา จึงรวมกลุ่มกันทำนาอินทรีย์โดยนาองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ การจัดการพื้นที่ และเทคโนโลยีแบบสมัยใหม่ ผสมผสานเข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสงสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริหารจัดการแบบใหม่โดยนำข้อดีของการบริหารของสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และบริษัทเอกชนมาประยุกต์ใช้ ขับเคลื่อนผ่าน 3 กลไก คือ ผู้นำ กรรมการ สมาชิก พร้อมนำระบบพี่เลี้ยงที่เป็นเครือข่ายของกลุ่มมาช่วยสร้างความเชื่อและวิถีการผลิตใหม่ รวมทั้งมีผู้นำทีมสร้างสรรค์รุ่นใหม่ประจำหมู่บ้าน ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับรัฐและองค์กรระหว่างประเทศ ผลจากการสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ปรากฏเป็นนวัตกรรมต่างๆ ดังนี้ นวัตกรรมเปลี่ยนกรอบความคิด (Change in Mental Model) นวัตกรรมองค์ความรู้ใหม่ด้านเกษตรอินทรีย์ นวัตกรรมการจัดการพื้นที่ นวัตกรรมการรวมกลุ่ม และนวัตกรรมการเชื่อมโยงตลาดโลก ทั้งหมดนี้สะท้อนถึงการจัดการแบบใหม่ มุ่งสร้างความเข้มแข็งภายในกลุ่ม สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับคนในชุมชนด้วยความเป็นอยู่แบบพอเพียง พึ่งพาตนเองเป็นหลัก โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม และความมีสำนึกร่วมของท้องถิ่น ผสานกับภาวะผู้นำที่แท้จริง | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | นวัตกรรมทางสังคม | en_US |
dc.subject | การพัฒนาสังคม -- ศรีสะเกษ | en_US |
dc.subject | วิสาหกิจชุมชน -- ไทย -- ศรีสะเกษ | en_US |
dc.title | การสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมในวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสง จ.ศรีสะเกษ | en_US |
dc.title.alternative | A creation of social innovation at Baan Um-Saeng community enterprise, Srisaket Province, Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aims to study the formation, process, and elements of social innovation as well as to find a guideline for the integration of social enterprise at Baan Um-saeng, Srisaket province. This research was conducted using the document analysis along with the fieldwork in-depth interviews. The key informants included members of community enterprises, community leaders, leaders of Baan Um-saeng Community Enterprise, rice dealers, and involved government officers. It was found that Baan Um-saeng Community Enterprise, Srisaket province was formed after experiencing difficulties in rice farming, which was a part of rice farming industry. They gathered together to do organic rice farming by using the knowledge of organic farming, space management, and modern technology, integrated with the local knowledge and the philosophy of sufficiency economy. Furthermore, Baan Um-saeng Community Enterprise Center created innovative management by using a guideline from the administration of community co-operation, community enterprise, and private companies. The administration was conducted with three main mechanisms including leaders, administrative committees, and members. In addition, this center employed a mentoring system to help build up faith as well as introduce new production methods to the farmers. The center also built up the new generation leaders in the village as well as establish a good relationship with the government and international organizations. The outcome of the innovation had appeared in various forms, i.e. the change in mental model, innovative knowledge in organic agriculture, innovation in area management, innovative integration, and innovation connecting to the global market. All these reflected a new management style focusing on strengthening the group, building careers for people in the community with sufficient living, self-reliant using cultural capital and the shared common sense of the local combined with authentic leadership. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Soramon Tepkaew.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.