Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์ สืบพงษ์ศิริ-
dc.contributor.authorเลอพร ศุภสร-
dc.date.accessioned2022-01-25T06:02:59Z-
dc.date.available2022-01-25T06:02:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/466-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวอาชญากรรมของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับอิทธิพลของข่าวอาชญากรรมของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อศึกษาแนวทางการป้องกันผลกระทบจากข่าวอาชญากรรมแก่เด็กและเยาวชน เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรคือ เด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี จำนวนทั้งหมด 736 คน การวิจัยเชิงปริมาณกาหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 246 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตาตามแต่ละกลุ่มคดีความผิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติแบบพารามิเตอร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์เก็บข้อมูลเยาวชนในความผิดคดีต่าง ๆ จำนวน 11 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 1. การเปิดรับข่าวอาชญากรรมของเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่จากเว็บไซต์ ซึ่งสนใจข่าวเกี่ยวกับยาเสพติดมากที่สุดโดยติดตามข่าวการจับกุม ดำเนินคดี และบทลงโทษ ปัจจัยที่ทาให้เยาวชนรับชมข่าวอาชญากรรมคือมีผู้ปกครองคอยตักเตือนและให้บทเรียนมากที่สุด 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับอิทธิพลของข่าวอาชญากรรม พบว่า เยาวชนที่อายุต่ากว่า 10 ปี คิดว่าข่าวอาชญากรรมทาให้เกิดเรียนรู้เทคนิควิธีของการก่ออาชญากรรมรูปแบบต่าง ๆ มากกว่าเยาวชนอายุตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ส่วนเยาวชนที่กระทำผิดคดีพกอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต และคดีลักทรัพย์ คิดว่าข่าวอาชญากรรมมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และเลียนแบบการกระทำผิด 3. แนวทางการป้องกันผลกระทบจากข่าวอาชญากรรมสาหรับเด็กและเยาวชน คือ ครอบครัวควรตักเตือนให้คำแนะนาในเชิงบวก องค์กรสื่อมวลชนควรเน้นการนำเสนอบทลงโทษผู้กระทำผิด และควรเน้นข่าวการนาเสนอข่าวการป้องกันตัวจากภัยอาชญากรรมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectข่าวอาชญากรรมen_US
dc.subjectเด็กและเยาวชน -- การกระทำความผิดen_US
dc.subjectสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก -- อุบลราชธานี -- วิจัยen_US
dc.titleการเปิดรับข่าวอาชญากรรมของเด็กและเยาวชน ศึกษาเฉพาะกรณีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีen_US
dc.title.alternativeJuveniles’ exposure to crime news: a case study of juvenile observation and protection center in Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to examine the exposure to crime news of juveniles in the Juvenile Observation and Protection Center of Ubon Ratchathani Province and to explore their opinions towards possible effects of crime news on the juveniles, and to propose preventive measures against those effects. The study was qualitatively and quantitatively conducted. The population was 736 juveniles in the Juvenile Observation and Protection Center of Ubon Ratchathani Province. 246 juveniles were sampled using the quota sampling method according to categories of offences. The obtained data were analyzed using descriptive statistics and parameter statistics. The quantitative research was carried out through interviews with 11 juveniles in different offences sampled using the purposive sampling method. The results revealed that most juveniles were exposed to crime news on websites. Most of them paid attention to drug news and followed the news related to arrests, prosecution, and penalties. Most of the factor leading to exposure of crime news was parental guidance. In terms of effects of crime news, those who were lower than 10 years old were more likely to think that crime news was an alternative to learn forms of crime and how to commit crime in comparison to those who were 10 years old and higher. Juveniles whose crime was gun carriage without permission and burglary thought that they could learn to commit and imitate illegal acts. As a preventive measure, families should warn children and provide them positive advice. In addition, media organizations were recommended to mainly focus on the presentation of news related to legal punishments for crime offences and self-protection from crime.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรมen_US
Appears in Collections:CJA-CJA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lerporn Supasorn.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.