Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/495
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเนศ สุจารีกุล | - |
dc.contributor.author | ชณิศา แสงทอง | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-27T07:03:21Z | - |
dc.date.available | 2022-01-27T07:03:21Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/495 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (นิติศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหา อาทิ (1) บทบัญญัติและวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 (พระราชบัญญัติ) (2) อาชญากรรม การลงโทษ และข้อยกเว้น ภายใต้พระราชบัญญัติ ตลอดจนเหตุผลและความเหมาะสมของมัน (3) กฎหมายที่คล้ายกันกับพระราชบัญญัติ ของประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย และอินเดียและ (4) วิถี และวิธี ในการปรับปรุงพระราชบัญญัติ วิทยานิพนธ์นี้ พบว่าข้อยกเว้นภายใต้พระราชบัญญัติบางข้อ ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติ ที่ต้องการคุ้มครองสัตว์ เช่น มาตรา 21 กาหนดว่า “การกระทาดังต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ตามมาตรา 20” กล่าวคือ (1) “การฆ่าสัตว์เพื่อใช้เป็นอาหาร ทั้งนี้ เฉพาะสัตว์เลี้ยง” หรือ (8) “การตัดหู หาง ขน เขา หรืองาโดยมีเหตุอันสมควรและไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์” หรือ (9) “การจัดให้มีการต่อสู้ของสัตว์ตามประเพณีท้องถิ่น” การกระทาต่างๆ เหล่านี้ ไม่เป็นไปเพื่อปกป้องคุ้มครองสัตว์ เพราะ การฆ่าอาจใช้วิธีที่ทารุณ การตัด หู หาง ขน เขา หรืองา ย่อมทาให้สัตว์เจ็บปวด และการจัดให้มีการต่อสู้ของสัตว์ย่อมทาให้สัตว์เป็นอันตรายถึงพิการหรือตาย ดังนั้น จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติบางประการ เช่น การฆ่าควรเป็นวิธีที่รวดเร็วและเจ็บปวดน้อยที่สุด การตัดอวัยวะสัตว์ควรยกเลิกยกเว้นเพื่อการรักษาสัตว์ การจัดให้มีการต่อสู้สัตว์ตามประเพณีท้องถิ่นควรยกเลิกโดยทันทีและกาหนดให้เป็นอาชญากรรมโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ อนึ่ง ควรปรับปรุงหลักปรัชญาที่เกื้อหนุนพระราชบัญญัติ เพื่อให้สัตว์มีสิทธิในฐานะที่เป็นสัตว์มากกว่าการเป็นทรัพย์ที่มีชีวิตของมนุษย์ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | พระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 | en_US |
dc.subject | สัตว์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | สวัสดิภาพสัตว์ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การทารุณกรรมสัตว์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.title | การบังคับใช้กฎหมายพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ศึกษากรณีเหตุยกเว้นการกระทำความผิดและแนวทางการลงโทษผู้กระทำความผิด | en_US |
dc.title.alternative | Law enforcement, Cruelty Prevention and Animal Welfare Act B.E. 2557 : a case study for exemption of offenses and guidelines for punishing offenders | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This objective of this Thesis is, inter alia, to find (l) the objectives of the Act on Protection Against Torture and Welfare of Animals BE. 2557; (2) the crimes and penalties and their exceptions under the Act and the rationales therefore; the appropriateness of the exceptions and the penalties; (3) the similar legislations of Switzerland, the United States of America (USA), Malaysia, and India; and (4) the ways and means to improve the Act. This Thesis finds that some of the exceptions to the Act are not in accordance with the objectives of the Act. For instance, Article 21 provides that “the following acts shall not be treated as tortures according to Article 20”, namely (1) “slaughter of raised animal for food”, (8) “lacerating or maiming of ears, tails, hairs, horns, or tusks of animals due to reasonable causes and not harmful to animals”; (9) “provision of animal fights according to local customs”. These exceptions are not for protection of animals because killing may be in the form of torture, the lacerating or maiming are invariably hurtful, and animal fights are naturally fatal and may cause cripple and death to animals. Therefore, the Act should be somewhat amended, such as slaughter of animals should be done in the fastest and least pain manner, the lacerating and maiming of animals should be banned; and fighting of animals should be abolished forthwith and make them crimes as soon as possible. Furthermore, the philosophical rationales underpinning the Act should be improved so that animals’ shah be recognized as having rights as animal rather mere living property of human | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chanisa Sangthong.pdf | 3.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.