Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/518
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิภาพร เฉลิมนิรันดร | - |
dc.contributor.author | กานต์วลัย อินพรหม | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-18T03:09:27Z | - |
dc.date.available | 2022-02-18T03:09:27Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/518 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของข้าราชการ สังกัดกองบิน 4 ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูด 2) เปรียบเทียบทักษะการพูด ภาษาอังกฤษระหว่างข้าราชการเหล่าเทคนิคและเหล่าอื่น ๆ สังกัดกองบิน 4 และ 3) ศึกษาระดับ ความพึงพอใจของข้าราชการสังกัดกองบิน 4 ต่อการเรียนโดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูด ประชากรเป็นข้าราชการสังกัดกองบิน 4 อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 32 คน แบ่งเป็ น เหล่าเทคนิค 15 คน และเหล่าอื่น ๆ 17 คน เครืองมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูด จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบทักษะการพูด ภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียน 3) แบบประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษ และ 4) แบบวัด ความพึงพอใจของข้าราชการสังกัดกองบิน 4 ต่อการเรียนโดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูด ผู้วิจัยได้ จัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูด เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ วิเคราะห์คะแนน ประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยหาค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ t-test และวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจโดยหาค่าเฉลี่ย (x̄) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้าราชการสังกัดกองบิน 4 ทั้งกลุ่มเหล่าเทคนิคและเหล่าอื่น ๆ มีคะแนนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) จากการเปรียบเทียบผลคะแนนทักษะการพูดภาษาอังกฤษระหว่างข้าราชการเหล่าเทคนิค และเหล่าอื่น ๆ สังกัดกองบิน 4 พบว่า คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของทั้งสองกลุ่มแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) ข้าราชการสังกัดกองบิน 4 มีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ โมเดลวงจรสอนการพูด แบ่งเป็นด้านเนื้อหาอยู่ในระดับมาก ด้านการสอนของครูผู้สอนอยู่ในระดับ มากที่สุด และด้านการเรียนโดยใช้โมเดลวงจรสอนการพูดอยู่ในระดับมาก | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การพูด | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การสอนด้วยสื่อ | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา | en_US |
dc.title | การใช้โมเดลวงจรสอนการพูดเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของข้าราชการสังกัดกองบิน 4 กองทัพอากาศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Application of the teaching-speaking cycle model to improve the English speaking skills of wing 4 officers, Royal Thai Air Force | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to 1) compare English speaking skills of Wing 4 officers before and after learning through the teaching-speaking cycle model, 2) to compare English speaking skills between two groups of Wing 4 officers: technical corps and non-technical corps, and 3) to examine their satisfaction towards learning through the teaching-speaking cycle model. A total of 32 participants who were officers based at Wing 4, Royal Thai Air Force, in Takhli District, Nakhon Sawan Province were divided into two groups based on officer category: 15 technical corps and 17 non-technical corps. This study employed 4 research instruments: 1) 4 lesson plans based on the 7-stage teaching-speaking cycle model, 2) English speaking pretest and posttest, 3) an English speaking rubric, and 4) a satisfaction questionnaire. For data collection, the participants were taught through the teaching-speaking cycle model for 4 weeks. Their English speaking skills scores were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test, and their satisfaction was analyzed by using mean and standard deviation. The results revealed that 1) two groups had higher English speaking mean scores on the posttest with a significant level of .01. 2) When the mean scores of two groups were compared, it was found that both pretest and posttest mean scores were different without statistical significance. 3) Wing 4 officers were generally satisfied with learning through the teaching-speaking cycle model. Their satisfactions towards the content, learning through the teaching-speaking cycle model, and the teacher’s instruction were high, high, and extremely high, respectively | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanwalai Inprom.pdf | 2.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.