Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/533
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีสมร พุ่มสะอาด | - |
dc.contributor.author | รงคเทพ ลิ้มมณี | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-18T05:24:43Z | - |
dc.date.available | 2022-02-18T05:24:43Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/533 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการพูดภาษาอังกฤษหลังการใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ เทียบกับเกณฑ์ระดับผลการเรียนของโรงเรียน ร้อยละ 50 2)เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ และ3)ศึกษาความสนใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 41 คน ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง วันกีฬาสี และ วันหยุด ที่ใช้เกมบันไดงู และเกมเล่าเรื่องจากภาพ จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ และ 3) แบบวัดความความสนใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ เก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยจัดการเรียนรู้ด้วยตัวเองและวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบทักษะการพูดก่อนและหลังเรียนโดยใช้สถิติ ทดสอบค่าที (T-test Dependent)ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษหลังการใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ สูงกว่าเกณฑ์ระดับผลการเรียนของโรงเรียนร้อยละ 50 จำนวน 33 คน (ร้อยละ 80.49) และนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 8 คน (ร้อยละ 19.51) 2) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนมีความสนใจในการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ระดับมาก | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การพูด -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การสอนด้วยสื่อ | en_US |
dc.subject | เกมการศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา | en_US |
dc.title | การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้เกมเพื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | en_US |
dc.title.alternative | Development of grade 7 students’ English speaking skills by using game-based learning | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purposes of this quasi-experimental research were: 1) to investigate the improvement of English speaking skills of the students learning English through games based upon 50% of the school's measurement criteria, 2) to compare English speaking skills before and after the implementation of games, and 3) to examine the students' interest in learning through games. The samples included 41 grade 7 students in the academic year 2019. The research instruments consisted of four lesson plans on the topics, ‘Sport’s Day’ and ‘Holiday,’ taught with the snakes and ladders game and the storytelling game, an English speaking skills test, and students' interest evaluation form. Data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. In addition, the t-test dependent was used to examine the level of students’ speaking skills. The results of the research showed that students’ English speaking skills after learning through games improved and 80.49% of the samples passed the test with scores of more than 50% of the total score while only 19.51% of the samples failed the test. Furthermore, English speaking skills of the students after the implementation of games were higher with a statistical significant level of .01, and the students were interested in learning through games in a high level. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rongkhathep Limmani.pdf | 6.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.