Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณกิตติ์ วรรณศิลป์-
dc.contributor.authorอุษา ชูกลิ่น-
dc.date.accessioned2022-02-18T08:37:57Z-
dc.date.available2022-02-18T08:37:57Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/585-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ประยุกต์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการศึกษาการรับรู้และความเข้าใจของภาคประชาชนต่อความสำคัญของการใช้พร้อมเพย์ กรณีศึกษา ประชากรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประชากรกลุ่มตัวอย่างต่อการรับรู้และเข้าใจความสำคัญของบริการพร้อมเพย์และความน่าจะเป็นในการยอมรับการใช้บริการพร้อมเพย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทำ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยและ/หรือทำงานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 400 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน อาศัยและ/หรือทำงานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง(61.3%) สถานภาพโสด(57.8%) อยู่ในช่วงอายุระหว่าง18 – 32 ปี(47.3%) ระดับการศึกษาปริญญาตรี(62.3%) ประกอบอาชีพพนักงานลูกจ้างเอกชน(40.8%) มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วงระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท(25.5%) ผลจากการวัดระดับความรู้ความเข้าใจบริการพร้อมเพย์พบว่า ส่วนใหญ่(70.1%)อยู่ในระดับปานกลาง และผลจากการวัดระดับความสำคัญของบริการพร้อมเพย์ พบว่า ความสำคัญด้านการใช้งาน ความสำคัญด้านราคา ความสำคัญด้านความสะดวก ความสำคัญด้านความรู้ ความสำคัญด้านสังคม ความสำคัญด้านภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความสำคัญด้านความปลอดภัยอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ Logistic Regression พบว่า ปัจจัยด้านอาชีพ ด้านรายได้ ด้านการรับรู้ และความสำคัญ ด้านการใช้งาน ด้านความสะดวก ด้านสังคม ด้านความรู้ และด้านภาพรวม มีผลต่อการใช้บริการพร้อมเพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.10, 0.05และ 0.01en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectบริการธนาคารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พระนครศรีอยุธยาen_US
dc.subjectระบบเงินสดอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleศึกษาการรับรู้และความเข้าใจของภาคประชาชนต่อความสำคัญของการใช้พร้อมเพย์ กรณีศึกษา ประชากรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.title.alternativeThe study of public perception and understanding on the importance of using promptpay : the case study of the population in Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective is to study the sample population of Ayutthaya Province regarding how they recognize and understand the importance of Promptpay service and the probability of accepting the use of Promptpay service. The tools used for data collection were questionnaires prepared by the researcher to collect data for a total of 400 samples. The study found that, among the sample of 400 people who live and / or work in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, 61.3% of them are single women, average age is between 18 - 32 years, 62.3% of them hold bachelor degree. Most of their occupations are private employees, with average monthly income in the range of 15,000 – 20,000 baht. Test results indicate that the recognition and understanding of Promptpay service are at medium level. As for the measurement of the importance of Promptpay service, it is found that the importance of usage, fee, convenience, knowledge, social and overall views are at high level and the importance of safety is at medium level. The estimation of logistic regression analysis shows that the factors that affect the use of Promtpay service significantly include career, average monthly income, awareness and the importance of usability, quick and convenient use, knowledge, social and overall viewsen_US
dc.description.degree-nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineเศรษฐศาสตร์ประยุกต์en_US
Appears in Collections:EC-AE-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usa Chooklin.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.