Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/596
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระ สมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | กนกวรรณ หมื่นแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-20T04:47:10Z | - |
dc.date.available | 2022-02-20T04:47:10Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/596 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (รัฐศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (2) เปรียบเทียบทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ จำแนกตามช่องทางการรับรู้ ข่าวสารทางการเมือง โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้วยโปรแกรมสา เร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติของนักศึกษาระดับปริญญาตรีโดยภาพรวมส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ ภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีผลการเปรียบเทียบทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ ที่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3 ตัวแปร ดังนี้ (1) ระดับชั้นปี การศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีชั้นปี การศึกษาแตกต่างกันมีทัศนคติที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยพบว่า นักศึกษาชั้นปี ที่ 1 และ 2 มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ แตกต่างจากนักศึกษาชั้นปี ที่ 3 และ 4 (2) รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้เฉลี่ยแตกต่างกันมีทัศนคติที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ฯ ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยพบว่า นักศึกษาที่มีรายได้ตั้งแต่ 5,001 – 10,000 บาท มีทัศนคติด้านภาวะผู้นำแตกต่างจากพวก และ (3) การรับข้อมูลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีการรับรู้ข้อมูลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์แตกต่างกันมีทัศนคติที่มีต่อภาพลักษณ์ของ พลเอกประยุทธ์ฯ ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ประยุทธ์ จันโอชา, พล.อ., 2497- | en_US |
dc.subject | ผู้นำทางการเมือง -- ไทย | en_US |
dc.subject | นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต -- การสำรวจทัศนคติ | en_US |
dc.subject | นักการเมือง -- ภาพลักษณ์ | en_US |
dc.title | ทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่มีต่อภาพลักษณ์ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา | en_US |
dc.title.alternative | Attitudes of Rangsit University’s students towards the image of general Prayut Chan-O-Cha | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were (1) to study the attitudes of Rangsit University students towards the image of General Prayut Chan-o-cha, (2) to compare their attitudes classified by individual factors, and (3) to compare their attitudes classified by political news channels. The samples were 400 undergraduate students in Rangsit University. The research instrument was a questionnaire. Data collected were then analyzed using statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA with a statistical significance level of 0.05 through SPSS. The results of this research indicated that the mean of the attitudes of Rangsit University students towards the image of General Prayut Chan-o-cha was at a medium level. The comparative results revealed that year of study, monthly income, and information exposure significantly had impact on students’ attitudes. First of all, year of study significantly affected students’ attitudes with a statistical significance level of 0.05. The comparative study revealed significant difference between first-year and second-year students and their third-year and fourth-year counterparts. Second, difference in average monthly income resulted in different attitudes with a statistical significance level of 0.05. Those with monthly incomes of between 5,001-10,000 baht significantly had different attitudes from those with other monthly incomes ranges. Finally, difference in information exposure via printed media resulted in different attitudes with a statistical significance level of 0.05. | en_US |
dc.description.degree-name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Political-Political-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanokwan Muenkaew.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.