Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/614
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุลดิศ คัญทัพ | - |
dc.contributor.author | พลวัต แสงสีงาม | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-20T06:04:09Z | - |
dc.date.available | 2022-02-20T06:04:09Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/614 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระดับภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ประชากรสำหรับการวิจัยในครั้งนี้ คือ ครู ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำนวน 2,578 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และเมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) ได้จำนวนครูในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 335 คน และสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ และแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ (Percentile) ค่าเฉลี่ย (Means) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของคุณลักษณะภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ภาพรวม สภาพ ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ภาพรวม พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนมีความต้องการจำเป็นในการ พัฒนา ลำดับที่ 1 ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ ลำดับที่ 2 ด้านการสร้างความหวัง ลำดับที่ 3 ด้านการสร้างความไว้วางใจ ลำดับที่ 4 ด้านการสร้างศรัทธา 2) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 มีทั้งหมด 4 คุณลักษณะ ประกอบด้วย 1) การสร้างศรัทธา 2) การกำหนดวิสัยทัศน์ 3) การสร้างความหวัง 4) การสร้างความไว้วางใจ มีคุณลักษณะย่อยที่ควรพัฒนา 12 คุณลักษณะ และมีแนวทางการพัฒนา 36 แนวทาง | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำ | en_US |
dc.subject | ผู้นำทางการศึกษา -- บุรีรัมย์ | en_US |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน -- การบริหาร | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 | en_US |
dc.title.alternative | Approach for spiritual leadership development of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of the research were 1) to study the current conditions and desirable attributes of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3 2) to study the approach for spiritual leadership development of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3. The population was 2,578 teachers in Buriram Primary Education Area 3. The sampling technique used in the study was according to the formula of Krejcie & Morgan (1970). The sample was composed of 335 teachers in Buriram Primary Education Area, Area 3. The participants were selected by stratified sampling. The research instrument was a questionnaire regarding the current conditions and desirable attributes and the approach for spiritual leadership development of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3. The statistics used for data analysis were percentile, mean, and standard deviation. The findings revealed that 1) based on the current conditions and desirable attributes of spiritual leadership of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3, the mean of current conditions was at the high level, while the mean of the desirable attributes was at the highest level. According to the needs analysis for spiritual leadership development of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3, it showed that the school administrators were in need of the following aspects: the first rank was defining vision; the second rank was building hope; the third rank was building trust; and the fourth rank was building faith. 2) The approach for spiritual leadership development of school administrators in Buriram Primary Education Area, Area 3 consisted of four attributes: 1) building faith, 2) defining vision, 3) building hope, and 4) building trust. 12 sub- attributes should be developed, and there are 36 guidelines for spiritual leadership development | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การบริหารการศึกษา | en_US |
Appears in Collections: | EDU-EA-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phonlawat Saengsingam.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.