Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรวรัญช์ องคสิงห, กนกรัตน์ ยศไกร-
dc.contributor.authorพิชญาดา ดำแก้ว-
dc.date.accessioned2022-02-20T06:19:37Z-
dc.date.available2022-02-20T06:19:37Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/616-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดเผยวิถีชีวิตของคนคุ้ยขยะภายใต้คุณค่าของความเป็นอื่นและ เพื่อศึกษากระบวนการสร้างอัตลักษณ์และคุณค่าแห่งตัวตนใหม่ของคนคุ้ยขยะ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการศึกษาเอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญของการวิจัยในครั้งนี้คือคนที่เลี้ยงชีพด้วยการคุ้ยขยะประชาชนทั่วไป ผู้นำท้องถิ่น และผู้นำองค์กร ผลการศึกษาพบว่า ชีวิตและคุณค่าของความเป็นอื่นไม่ได้เกิดขึ้นอย่างไร้เดียงสาหากแต่เกิดขึ้นจากผลของการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาเมืองที่ผลิตคู่ตรงข้ามของการพัฒนา คนคุ้ยขยะคือภาพตัวแทนของความยากจน ผู้ที่มีชีวิตอยู่กับความสกปรก ไร้การศึกษา ไม่น่าไว้ใจ และขาดทางเลือก เมื่อความเป็นเมืองไม่ต้องการ คนคุ้ยขยะจึงเป็นบุคคลที่ต้องถูกเบียดขับออกไปจากสังคม แต่ไม่ว่าคนในสังคมจะปฏิบัติต่อพวกเขาอย่างไร การคุ้ยขยะก็คือทางเลือกของชีวิตและโอกาสของความอยู่รอด คนคุ้ยขยะจำนวนมากที่พยายามทลายกรอบแห่งกรงขังของวาทกรรมไปสู่การสร้างคุณค่าและอัตลักษณ์ใหม่ ในตนเองด้วยกระบวนการสำรวจตรวจสอบตนเองอย่างรอบด้าน การเข้าสู่ระบบการศึกษา เพื่อสร้างอัตลักษณ์ใหม่ตามมาตรฐานและความต้องการของสังคม องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการสร้างตัวตนใหม่นอกจากพลังอำนาจในตนเองแล้ว ความมีระเบียบวินัย วิธีคิด ความมุ่งมั่น ความเชื่อ เพื่อนและครอบครัวเป็นความสัมพันธ์เชิงอำนาจมีอิทธิพลต่อความสำเร็จและความล้มเหลวในการผลิตอัตลักษณ์ใหม่ของคนคุ้ยขยะอย่างไม่อาจจะปฏิเสธได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectคนเก็บขยะ -- การดำเนินชีวิตen_US
dc.subjectคนเก็บขยะ -- ภาวะสังคมen_US
dc.subjectอัตลักษณ์en_US
dc.titleคนคุ้ยขยะ : ชีวิตของความเป็นอื่นen_US
dc.title.alternativeThe scavenger: otherness of lifeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis dissertation aims to reveal scavengers’ way of life under the value of otherness and to study the process of how they create new values and identities. The study was conducted with qualitative research methodology. Data were collected through existing documents, participative observation, and in-depth interviews. Primary informants for this study included people who earned a living as scavengers, the general public, and local and organizational leaders. The findings of the study showed that life and the value of otherness did not exist on its own. In fact, it was found to be a consequence of economic and urban development that generated its counterparts from development. Scavengers became a representation of poverty, dirty living condition, lack of education, untrustworthiness, and lack of choices in life. It was also discovered that, due to rapid urbanization, scavengers were expelled from the society. No matter the society treated them, scavenging remained the only choice in life as well as the only opportunity to survive. A number of scavengers attempted to break the prison of verbal discourse in order to create new values and identities through the process of self-examination in all aspects while some attempted to gain access to education to create a new identity as recognized and required by the society. Factors contributing to success in the creation of a new identity included selfempowerment, self-discipline, mindset, determination, and beliefs. Undeniably, friends and families were relation of power leading to success or failure in the creation of new identities for scavengersen_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองen_US
Appears in Collections:CSI-LSBP-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pichayada Damkaew.pdf8.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.